Page 244 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 244
15-10 อาหารแ ละโภชนบ ำบัด
(2) อัตราส่วนความยาวเส้นรอบเอวต่อเส้นรอบสะโพก (Waist Hip Ratio, WHR) สามารถใช้
เป็นต ัวชี้วัดภาวะโภชนาการที่นิยมมากในป ัจจุบันเช่นเดียวกัน ค่าที่เหมาะส มส ำหรับผ ู้ชายไม่ควรเกิน 1.0 และผ ู้หญิง
ไม่ค วรเกิน 0.8 ถ้าผ ู้ใดได้ค่าเกินกว่าที่ก ำหนดนี้ แสดงว่า อ้วนลงพุง (Abdominal type) มีการสะสมไขมันบริเวณ
ชอ่ งท อ้ งม าก เปน็ ป จั จยั เสีย่ งต อ่ ก ารเสยี ช วี ติ ม ากกวา่ โรคอ ว้ นแ บบ อืน่ ๆ การร กั ษาน ำ้ ห นกั ต วั ใหอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กติ สามารถ
ทำได้โดยการก ำหนดปริมาณพ ลังงานท ี่ได้รับจากอาหาร
วิธีปฏิบัติ ถ้าอ้วนไป เช่น ควรลดปริมาณอาหาร โดยเฉพาะอาหารจำพวกข้าว-แป้ง ของหวาน
และอ าหารที่ม ีไขมันส ูง ถ้าไม่เคยอ อกกำลังก าย ควรแนะนำให้ออกกำลังก ายโดยก ารเดินอ ย่างน้อยว ันละ 20-30 นาที
ในตอนเช้าหรือตอนเย็น หลังกินอาหาร ควรงดของว่างหรืออาหารระหว่างมื้อ อย่านั่งหรือนอนทันที หลังกินอาหาร
เรียบร้อยแ ล้วโดยเฉพาะอาหารเย็น เป็นต้น
วธิ ปี ฏบิ ตั ิ ถา้ ผ อมไป เชน่ แนะนำใหเ้ พิม่ ป รมิ าณอ าหารแ ละอ าจป รงุ อ าหารด ว้ ยว ธิ กี ารท อด ผดั ม าก
ขึ้น ควรเพิ่มมื้ออ าหาร โดยเพิ่มอ าหารว่างร ะหว่างม ื้อ หาส าเหตุการกินอ าหารน ้อยให้ได้แล้วแ ก้ต ามสาเหตุ เป็นต้น
(3) การว ัดความห นาของไขมันใต้ผวิ หนงั ที่น ิยมมี 4 ที่ คือ ไบเซป (biceps) ไตรเซป (triceps)
ซับส แ คป ลู าร์ (subscapular) และซ แู พรล ล์ แิ อก (suprailliac) จากน ั้นค ำนวณก ลับเป็นป ริมาณไขม ันในร ่างกาย (body
fat) หรืออ าจจ ะใช้เครื่องม ือที่เรียกว ่า Bioelectrical impedence analysis คำนวณหาป ริมาณไขมันในร่างกายก ็ได้
1.2 การต รวจท างช วี เคมี (Biochemical determination) ได้แก่ การตรวจเลือด และก ารตรวจป ัสสาวะ
1.2.1 การต รวจเลอื ด โดยก ารเจาะเก็บเลือดจ ากห ลอดเลือดด ำบ ริเวณแ ขนห รือป ลายน ิ้ว แล้วน ำเลือด
ไปต รวจว ิเคราะห์ท างห ้องปฏิบัติการท างการแ พทย์ การตรวจเลือดเป็นการตรวจจ ากพลาสมาห รือซีร ัมห รือเม็ดเลือด
แดง ซึ่งช ่วยให้ท ราบค ่าปริมาณส ารต ่างๆ ในร่างกาย เช่น ระดับไขมันในเลือด โคเลสเตอรอลร วม (TC) แอล ดีแ อล
โคเลสเตอรอล (LDL-C) เอชดีแอล-โคเลสเตอรอล (HDC-C) ไตรกลีเซอไรด์ (TG) น้ำตาลในเลือดและอื่นๆ
สำหรับการทดสอบน้ำตาลกลูโคสในเลือดโดยปกติ เป็นการวัดระดับกลูโคส ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
ส่วนการวัดความทนทานต่อน้ำตาลกลูโคส (Glucose tolerance test) เป็นการท ดสอบอ ัตราการจ ัดการก ลูโคสของ
ร่างกาย
1.2.2 การตรวจปัสสาวะ เป็นวิธีการตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการตรวจพื้นฐาน
สำหรับการวินิจฉัยทางการแพทย์ การตรวจปัสสาวะสามารถหาค่าของสารต่างๆ เช่น แร่ธาตุต่างๆ โปรตีนฯ เซลล์
ต่างๆ เช่น เม็ดเลือดแ ดง เม็ดเลือดข าวฯ รวมท ั้งค ุณสมบัติข องป ัสสาวะ เช่น ความถ่วงจำเพาะฯ ได้ โดยส ามารถต รวจ
ได้จากแถบตรวจปัสสาวะ (Urine test strip) ซึ่งจะอ่านผลจากการเปลี่ยนแปลงของสีและการตรวจปัสสาวะโดยใช้
กล้องจุลทรรศน์ เช่น
- การตรวจวิเคราะห์ระดับโซเดียมเป็นสิ่งที่จำเป็นระหว่างการวินิจฉัยโรคไตวายเรื้อรัง ซึ่งการ
ขับถ่ายโซเดียมในร ูปแบบ FeNa เป็นตัวบ่งช ี้ส ำคัญในการแยกภาวะก ่อนไตวายแ ละหลังไตว าย
- การต รวจพบโปรตีนในป ัสสาวะส ูง แสดงว ่า ไตเริ่มเสื่อมลงจ ากสาเหตุใดส าเหตุหนึ่ง และค วร
จะต้องได้ร ับก ารตรวจซ้ำ และติดตามวิเคราะห์หาส าเหตุต ่อไป
- การต รวจพ บเม็ดเลือดแดง มากกว่าปกติ เช่น มากกว่า 10 เซลล์ขึ้นไป ถือว่าไตม ีค วามผิดป กติ
และต้องตรวจสืบค้นหาสาเหตุต่อไป เช่น อาจเป็นนิ่ว อาจมีไตอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ หรือการอักเสบจากภูมิ
ไวเกินข องร ่างกาย เป็นต้น
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช