Page 245 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 245

การ​ติดตาม​ภาวะ​โภชนาการ 15-11

       1.3 	การ​ตรวจ​รา่ งกายท​ างค​ ลกิ น​ กิ (Clinical observation) เช่น
            1.3.1	 ประวัติ​สุขภาพ​และ​การ​เจ็บ​ป่วย เช่น ประวัติ​ของ​น้ำ​หนัก​ตัว ประวัติ​ทางการแ​ พทย์ รวม​ทั้ง​โรค​

เคยเ​ป็นแ​ ละก​ ารร​ ักษา และป​ ระวัตทิ​ างโ​ภชนาการ โรคป​ ระจำต​ ัว และโ​รคเ​รื้อรังท​ ีส่​ ัมพันธก์​ ับอ​ าหาร เช่น โรคอ​ ้วน ความ​
ผิดป​ กติข​ องร​ ะดับไ​ขม​ ันใ​นเ​ลือด โรคห​ ัวใจแ​ ละห​ ลอดเ​ลือด โรค​หลอดเ​ลือดส​ มอง โรค​เบาห​ วาน โรคค​ วามด​ ันโ​ลหิตส​ ูง
โรค​ไตแ​ ละ​อื่นๆ

            ประ​วั​ติ​ทางการแ​ พทย์ (Medical history) ทั้ง​โรค​เฉียบพลัน​และโ​รคเ​รื้อรัง การส​ ืบค้น​โรค การร​ ักษา​
ต่างๆ เช่น ผ่าตัด เคมี​บำบัด ยาก​ ดภ​ ูมิคุ้มกัน ​เป็นต้น ยาท​ ี่​ใช้ทั้ง​ที่​สั่งโ​ดย​แพทย์​และท​ ี่​ใช้​เอง

            ประวัติ​ทาง​โภชนาการ (Nutrition history) ครอบคลุม​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​น้ำ​หนัก​ตัว หาก​
เปลี่ยนแปลง​เป็นโ​ดยต​ ั้งใจห​ รือไ​ม่ (voluntary หรือ involuarary) รุนแรงม​ ากน​ ้อยเ​พียง​ใด​ขึ้นก​ ับป​ ริมาณ​น้ำ​หนัก​ตัว​
ที่​เปลี่ยน​และ​ระยะ​เวลา​ที่​เปลี่ยน ความ​อยาก​อาหาร ความ​สามารถ​ใน​การ​ช่วย​เหลือ​ตัว​เอง​ใน​การ​รับ​ประทาน​อาหาร
ปริมาณ​และช​ นิด​อาหาร​ที่ร​ ับป​ ระทาน อาการ​ทาง​ระบบท​ างเ​ดิน​อาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท​ ้อง ท้องเ​สีย ฯลฯ ที่​
อาจม​ ีผ​ ลต​ ่อก​ ารก​ ินอ​ าหาร การ​ใช้ผ​ ลิตภัณฑ์เ​สริมอ​ าหาร วิตามิน เกลือ​แร่ ประวัติการ​แพ้อ​ าหารห​ รือร​ ับป​ ระทานอ​ าหาร​
ชนิดใ​ดช​ นิดห​ นึ่งไ​ม่ไ​ด้ด​ ้วยเ​หตุผลใ​ด ทั้งนี้ เพื่อช​ ่วยใ​นก​ ารว​ ิเคราะห์ส​ าเหตุท​ ี่ท​ ำให้เ​กิดท​ ุพโ​ภชนาการว​ ่าม​ ีส​ าเหตุม​ าจ​ าก​
การ​รับ​ประทาน หรือ​การ​ย่อย​และก​ าร​ดูดซ​ ึม​สารอ​ าหาร

       การ​ประเมินน​ ้ำ​หนัก​ที่​เปลี่ยนแปลงไ​ป (Percentage of weight change) คำนวณไ​ด้ ดังนี้

ร้อย​ละ​ของ​น้ำห​ นัก​ที่เ​ปลี่ยนแปลง​ไป (% weight change)  =  น้ำห​ นักป​ กนต้ำห​ิข​ นอักง​รป​่ากงกตาิ​ขยอง—ร​ ่านง้ำกห​านยัก​ปัจจุบัน	 × 100
       การแ​ ปลผ​ ลก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​ของ​น้ำห​ นัก ทำได้ ดังนี้

 ชว่ งเวลา  ร้อยละของนำ้ หนกั ตัวเปลย่ี นแปลงอย่างมนี ยั สำคญั  ร้อยละของน้ำหนกั ตวั เปล่ยี นแปลงขัน้ รุนแรง
                    (% Significant weight loss)                         (% Severe weight loss)
1 สัปดาห์                    1-2                                               >2
1 เดือน                        5                                               >5
3 เดือน                        7.5                                             >7.5
6 เดือน                       10                                              >10

ท่ีมา:	 วันทนีย์ เกรียง​สินย​ ศ 2548: 110

            1.3.2 	วัดค​ วามด​ นั โ​ลหติ
            1.3.3 	ยาท​ ม​ี่ ผ​ี ลต​ อ่ ก​ ารใ​หโ​้ ภชนบ​ ำบดั เช่น ยาล​ ดร​ ะดับไ​ขม​ ันใ​นเ​ลือด ยาล​ ดค​ วามด​ ันโ​ลหิต ยาเ​บาห​ วาน
เป็นต้น
       1.4 	การป​ ระเมนิ อ​ าหารท​ บ​่ี รโิ ภค (Dietary assessment) ไดแ้ ก่ การซ​ ักป​ ระวัตกิ ารร​ บั ป​ ระทานอ​ าหาร เปน็ ข​ ้อมูล​
เบื้องต​ ้นท​ ี่​สำคัญท​ ี่ท​ ำให้​ทราบ​ว่า ผู้ป​ ่วย​กิน​อาหาร​ได้​เหมาะส​ มห​ รือ​ไม่​ทั้งป​ ริมาณ​และ​คุณภาพ รวม​ถึง​บริโภคน​ ิสัย​และ​
แบบแผน​การ​กินอ​ าหาร​ด้วย วิธีก​ าร​ประเมิน​ชนิดแ​ ละ​ปริมาณ​อาหารท​ ี่ก​ ิน ทำได้ห​ ลายว​ ิธี เช่น
            - 	การ​ซักป​ ระวัติ​อาหาร​ที่ก​ ิน​ย้อน​หลัง 24 ชั่วโมง (24-hour recall)
            - 	การ​จด​อาหาร​ที่ก​ ิน​ใน 24 ชั่วโมง (food records)
            - 	การ​ซักค​ วามถี่​ของ​อาหารท​ ี่​กิน (food frequency questionnaire)

                                           ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250