Page 250 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 250
15-16 อาหารและโภชนบ ำบัด
เรอื่ งท ่ี 15.1.3
การใหค้ วามร ู้ในการบ ริโภคอาหารเพ่ือป รับเปลีย่ นพ ฤติกรรมก ารบริโภค
การป รับเปลี่ยนพ ฤติกรรมสุขภาพรวมท ั้งพ ฤติกรรมก ารบ ริโภคอ าหารเป็นสิ่งจ ำเป็นในก ารรักษาโรค และลด
ภาวะแ ทรกซ้อนข องโรค จากร ายงานก ารศ ึกษาต ่างๆ ไดแ้ สดงใหเ้ห็นค วามส ำคัญข องก ารป รับเปลี่ยนพ ฤติกรรมในก าร
ที่จะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดโรคในผู้ที่มีความเสี่ยงสูง การควบคุมอาหารและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ จะป้องกัน
การเป็นโรคในผ ู้ท ี่ม ีความเสี่ยงส ูงแ ละด ีกว่าก ารใช้ย าใดๆ เสียอีกในบางโรค
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นบทบาทที่สำคัญของบุคลากรทางการแพทย์และผู้ให้คำปรึกษาทุกคน
รวมท ั้งนักก ำหนดอาหาร โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ซึ่งเป็นส ิ่งที่ยากท ี่สุด และเป็นห น้าที่
โดยตรงข องน ักก ำหนดอ าหาร ดังน ั้น นอกเหนือจ ากก ารใหค้ วามร ูแ้ ละค ำป รึกษาแ กผ่ ูป้ ่วยในก ารเลือกช นิดแ ละป ระเภท
อาหารอาจไม่เพียงพอที่จะทำให้ผู้ป่วยเกิดการตระหนัก และกลับไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารตนเองได้
นักกำหนดอาหารและผู้ให้คำปรึกษาควรมีความเข้าใจก่อนว่า การจะให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้นั้น จะต้อง
การผ ่านข ั้นต อนการเปลี่ยนแปลงพ ฤติกรรม ซึ่งเป็นกร ะบวนก ารที่เกิดข ึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังน ั้น ผู้ให้คำป รึกษาควรมี
การประเมินความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ป่วยก่อน นอกจากนั้นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ผู้ป่วยถ ือเป็นขั้นตอนแ รกที่จ ะท ำให้ผู้ป ่วยหรือผ ู้รับก ารป รึกษาเกิดค วามไว้วางใจเชื่อถือและย อมรับ
1. ข้ันต อนก ารเปลย่ี นแปลงพ ฤตกิ รรม (Stages of changes)
ทฤษฎีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Trans Theoretical Model of International behavior Change
(Prochaska and Diclemente) ซึ่งเป็นทฤษฎีในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและลำดับขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมข องบ คุ คล ประกอบด ว้ ย 5 ขัน้ ต อน จากข ัน้ ไมส่ นใจป ญั หา ไปถ งึ ก ารล งมอื ป ฏบิ ตั เิ พือ่ ใหเ้ กดิ ก ารเปลีย่ นแปลง
ดังนี้
1) ขั้นไม่ส นใจปัญหา
2) ขั้นไตร่ตรอง
3) ขั้นเตรียมพร้อม
4) ขั้นล งมือป ฏิบัติ
5) ขั้นด ำรงพ ฤติกรรม
1.1 ข้ันไม่สนใจปัญหา (Precomtemplation) เป็นขั้นที่บุคคลยังไม่ใส่ใจ หรือไม่สนใจที่จะรับรู้หรือ
เปลี่ยนแปลงพ ฤติก รร มใดๆ ของต นเอง ไม่ค ิดว ่าส ิ่งท ี่เกิดข ึ้นอ ยู่น ั้นเป็นป ัญหา ซึ่งอ าจเกิดจ ากก ารไม่มีค วามร ู้ถ ึงข ้อมูล
ของผ ลกระท บห รือผลเสียที่จ ะเกิดข ึ้นหรือได้รับ หรือไม่คิดว่าต นเองต ้องเปลี่ยนแปลง ขาดแรงจูงใจ ไม่มีความพ ร้อม
ใดๆ หรือไม่ค ิดว ่าการเปลี่ยนแปลงท ี่เกิดข ึ้นน ั้น จะส ามารถช ่วยให้ต นเองแ ก้ป ัญหาส ุขภาพได้จ ริงห รืออ าจ เนื่องม าจ าก
เคยล ม้ เหลวต อ่ ค วามพ ยายามท จี่ ะป รบั เปลี่ยนม าก ่อนแ ละร ูส้ ึกท อ้ แทห้ มดก ำล งใจ หรืออ าจม ปี จั จยั อ ืน่ ๆ ทเี่ ปน็ อ ปุ สรรค
ที่ซ ่อนเร้น เช่น เรื่องค ่าใช้จ่ายห รือไม่มีเวลา
1.2 ขน้ั ไตร่ตรอง (Contemplation) เป็นระยะที่เริ่มจะย อมรับความจ ริงเริ่มเห็นค วามส ำคัญเป็นข ั้นที่บุคคล
เริ่มมีค วามค ิดอยากแ ก้ไข อยากเปลี่ยนแปลง แต่ย ังไม่ถึงกับพ ร้อมจะเปลี่ยนแปลงในทันที เป็นช ่วงข องค วามล ังเลใจ
ที่จะทำหรือไม่ทำเพราะเริ่มเห็นข้อเสีย เริ่มรู้สึกได้ถึงความผิดปกติขึ้นกับตัวเองหรือการศูนย์เสียบางสิ่งที่เกิดขึ้น
ทำให้เกิดค วามค ิดที่อ ยากทบทวน ชั่งน้ำหนักข้อดี ข้อเสีย ยังขาดค วามมั่นใจว่าจ ะท ำได้ส ำเร็จ
ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช