Page 252 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 252

15-18 อาหารแ​ ละโ​ภชน​บำบัด

       หลกั ก​ าร​ให้​คำ​ปรึกษาแ​ นะนำแ​ ก่โ​รค​อว้ น
       แนวทาง​การใ​ห้​ความ​รู้ คำแ​ นะนำ และ​ปรึกษาแ​ ก่​ผู้​ที่​มีป​ ัญหาน​ ้ำ​หนัก​เกิน หรือ​ผู้ป​ ่วย​โรคอ​ ้วน​ประกอบ​ด้วย

            1)	 ประเมิน​ความ​ตั้งใจ​ของ​ผู้​ป่วย ใน​การ​ลด​น้ำ​หนัก​ตัว​ให้​ผู้​ป่วย​เข้าใจ​ถึง​ความ​แตก​ต่าง​ของ​การ​ลด​
น้ำห​ นัก​อย่างร​ วดเร็ว โดยก​ ารอ​ ดอ​ าหารใ​นร​ ะยะส​ ั้น​กับ​การ​ปรับพ​ ฤติกรรม​การ​บริโภคอ​ าหาร และ​การ​ออก กำลัง​กาย​ที่​
มี​ผลอ​ย่าง​ถาวร​และ​ระยะย​ าวต​ ่อ​การ​ลด​น้ำห​ นัก​และ​ต่อส​ ุขภาพ

            2)	 เน้น​ให้​ผู้​ป่วย​เห็น​ความ​สำคัญ​และ​วัตถุประสงค์​ของ​การ​ลด​น้ำ​หนัก​ตัว​ว่า ไม่ใช่​เป็นการ​ลด​น้ำ​หนัก​
เท่านั้น แต่เ​ป็นการท​ ำให้ส​ ุขภาพ​ดีแ​ ละ​แข็ง​แรง​ขึ้น เพิ่ม​สมรรถภาพข​ อง​ร่างกาย และ​เพิ่มค​ วาม​มั่นใจ​ใน​ตนเอง

            3) 	ช่วยผ​ ู้ป​ ่วย​ตั้งเ​ป้า​หมาย​ของก​ าร​ลด​น้ำ​หนัก
            4) 	ให้​คำ​แนะนำ​ใน​การ​ควบคุม​อาหารท​ ี่​เหมาะส​ ม
            5) 	เลือก​ชนิด​ของ​อาหาร​และค​ วบคุม​ปริมาณ​อาหาร
            6)	 เลือก​อาหาร​เมื่อร​ ับป​ ระทานอ​ าหาร​นอก​บ้าน และ​เมื่อ​ไปง​ านเ​ลี้ยง
            7) 	เลือก​อาหาร​ว่างท​ ี่​มีพ​ ลังงานต​ ่ำ
            8) 	แนะนำ​วิธีก​ ารเต​รีย​ ม​และด​ ัดแปลงอ​ าหาร
            9) 	แนะนำ​ให้ผ​ ู้ป​ ่วย​รับ​ประทาน​อาห​ ารช​ ้าๆ เคี้ยว​ให้ล​ ะเอียด​ใช้​เวลา 20 นาทีข​ ึ้น​ไป
            10)	 ติดตามจ​ ด​รายการ​อาหาร​ที่ร​ ับ​ประทาน ชั่ง​น้ำ​หนัก​และ​บันทึก​กิจกรรม​ที่ท​ ำใ​นแ​ ต่ละ​วัน เป็น​ประจำ​
สม่ำเสมอ ซึ่ง​เป็นว​ ิธีห​ นึ่งท​ ี่​ช่วยก​ ระตุ้น​ตัวผู้ป​ ่วย​เอง
            11)	 หลีกเ​ลี่ยงส​ ิ่งท​ ี่จ​ ะก​ ระตุ้นใ​ห้ผ​ ูป้​ ่วยร​ ับป​ ระทานอ​ าหารม​ ากเ​กินไ​ป เช่น ก​ ารร​ ับป​ ระทานอ​ าหารเ​ป็นห​ มู​่
คณะ งานเ​ลี้ยงส​ ังสรรค์ อาหาร​ว่าง​ระหว่าง​การ​ประชุม และร​ ะหว่าง​พัก
            12)	 หลีก​เลี่ยง​การ​อด​อาหาร หรือ​อาหาร​มื้อ​ใด​มื้อ​หนึ่ง หลีก​เลี่ยง​อาหาร​เสริม​หรือ​อาหาร​ลด​น้ำ​หนัก​ที่​
โฆษณา
            13)	 บริโภค​อาหาร​ที่ม​ ีน​ ้ำเ​ป็น​ส่วนป​ ระกอบจ​ ะ​ทำให้ไ​ม่​รับ​ประทานอ​ าหาร​มากเ​กิน​ไป
            14)	 ชมเชย​และใ​ห้ก​ ำลัง​ใจ​ผู้ป​ ่วยท​ ี่​สามารถป​ ฏิบัติ​ตัว​ได้​ดี
            15)	 ให้​ผู้ป​ ่วยเ​รียน​รู้ถ​ ึงพ​ ลังงานแ​ ละ​คุณค่าอ​ าหาร​บางอ​ ย่าง​ที่​มัก​บริโภคป​ ระจำ
            16)	 แนะนำ​การ​ออกก​ ำลังก​ ายแ​ บบแ​ อ​โร​บิก
            17)	 ติดตาม​ประเมิน​ว่า​ผู้ป​ ่วย​สามารถ​เปลี่ยนพ​ ฤติกรรมท​ ี่​ไม่​ถูก​ต้อง​ได้ห​ รือ​ไม่
       3.2	 การ​ให้​ความ​รู้​และ​คำ​ปรึกษา​สำหรับ​ผู้​ท่ี​มี​ความ​ผิด​ปกติ​ของ​ไข​มัน​ใน​เลือด ภาวะ​ความ​ผิด​ปกติข​ องไ​ข​มัน​
ใน​เลือด​เป็น​หนึ่ง​ใน​ปัจจัย​เสี่ยง​ที่​สำคัญ​ต่อ​การ​เกิด​ภาวะ​หลอด​เลือด​แดง​แข็ง ซึ่ง​นำ​ไป​สู่​การ​เกิด​โรค​หัวใจ​ขาด​เลือด
ที่​เป็นป​ ัญหาส​ าธารณสุข​ของป​ ระเทศไทย
       หลกั ​การ​ให​ค้ ำป​ รกึ ษาแ​ นะนำด​ า้ น​โภชนาการแ​ ก่​ผ​ู้ทม​ี่ คี​ วามผ​ ิด​ปกติข​ อง​ไข​มนั ใ​น​เลอื ด
       แนวทาง​การ​ให้​คำ​แนะนำแ​ ละ​ปรึกษาแ​ ก่​ผู้​ที่ม​ ีค​ วามผ​ ิด​ปกติ​ของไ​ข​มันใ​น​เลือด​ประกอบด​ ้วย
            1) 	อธิบาย​หลักก​ าร​และว​ ัตถุประสงค์​ของ​การ​ให้​โภชน​บำบัด
            2) 	อธิบายว​ ัตถุประสงค์​ของก​ าร​ลดป​ ัจจัย​เสี่ยง ผล​ของ​อาหารต​ ่อ​ระดับไ​ข​มันใ​น​เลือด
            3) 	แนะนำ​ให้ผ​ ู้ป​ ่วยป​ รับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​การบ​ ริโภค​อย่าง​ค่อย​เป็น​ค่อย​ไป
            4) 	ให้ค​ วาม​รู้​อาหาร​ที่​มีใ​ยอ​ าหารป​ ระเภทท​ ี่​ละลาย​น้ำ (soluble fiber)
            5) 	แนะนำ​การ​ดื่ม​นมแ​ ละ​ผลิตภัณฑ์น​ ม​ที่ม​ ี​ไข​มัน​ต่ำ​และ​บริโภค​เนื้อ​สัตว์​ที่​มี​ไข​มัน​ต่ำ
            6) 	ลด​ปริมาณ​ไขม​ ัน​ที่บ​ ริโภค​และเ​ลี่ยงไ​ข​มัน​อิ่ม​ตัว แต่ไ​ม่​งด​การ​บริโภคไ​ขม​ ัน​และ​เนื้อ​สัตว์

                             ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257