Page 253 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 253
การติดตามภาวะโภชนาการ 15-19
7) อธิบายให้เข้าใจว่าการล ดป ริมาณไขม ันที่บริโภค จะช่วยล ดค วามเสี่ยงต ่อโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน
โรคค วามดันโลหิตสูง และโรคเรื้อรังอ ื่นๆ
8) อธิบายห ลักในก ารเตรีย มอาหารและดัดแปลงอ าหาร
9) แนะนำการเลือกอาหารเมื่อรับประทานอ าหารนอกบ ้าน
10) หลีกเลี่ยงก ารบริโภคน้ำตาลและการด ื่มสุรา
11) ให้ค วามรู้ว ่าอ าหารที่มาจากพ ืชไม่มีโคเลสเตอรอล
12) อ่านฉ ลากโภชนาการเมื่อซ ื้ออ าหารส ำเร็จรูป
13) สมาชิกในค รอบครัวมีส่วนร ่วมในการค วบคุมอาหาร
4. การต ิดตามและประเมนิ ผลของก ารใหโ้ภชนบ ำบดั แ ละการใหค้ วามร แู้ ละค ำปรึกษา
ผลที่ค าดห วังจ ากการให้โภชนบำบัดและการให้ความรู้และคำปรึกษาคือ
1) ลดน้ำหนักต ัวได้
2) ลดระดับของโคเลสเตอรอลรวม (TC) ร้อยละ 15-20 ลดร ะดับของแ อลดีแอลโคเลสเตอรอล (LDL-C )
และไตรกลีเซอไรด์ เพิ่มระดับเอชดีแอล (HDL-C) และลดร ะดับข องน้ำตาลในเลือด
3) จำกัดอ าหารท ี่ม ีโคเลสเตอรอลสูง ไขม ันส ูง ไขมันอิ่มตัวส ูง และก รดไขมันทรานส์ (Trans fatty acids)
4) บริโภคไขม ันไม่อิ่มต ัวห นึ่งต ำแหน่งเดียว (MUFA) และอาหารที่มีโอเมก ้า 3
5) เพิ่มก ารบริโภคอ าหารที่ม ีโฟเลต วิตาม ินบี 6 วิตาม ินบี 12 และว ิตามินอ ี
6) อ่านฉ ลากโภชนาการได้ถ ูกต้อง
7) เพิ่มก ารบ ริโภคอาหารที่ม ีใยอาหาร และอาหารท ี่มีใยอ าหารท ี่ละลายน้ำ > 2-3 ส่วน/วัน
8) เตรียมอ าหารโดยใช้ไขมันต ่ำ
9) ออกกำลังก าย 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ และ 30-45 นาที/ครั้ง
สรปุ
การให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการเป็นสิ่งที่จำเป็นและเป็นรากฐานที่สำคัญของการดูแลสุขภาพ
ของผู้ป่วย นักกำหนดอาหารควรตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโภชนาการที่พบได้ทั้งในผู้ป่วยที่รับไว้รักษาใน
โรงพยาบาล และผ ู้ป ่วยนอกที่มารับบริการค ลินิกโภชนาการ เล็งเห็นความส ำคัญและประโยชน์ของการให้ค วามร ู้และ
คำป รกึ ษาด า้ นโภชนาการ ใฝห่ าความร ฝู้ กึ แ ละเสรมิ ท กั ษะในก ารใหค้ วามร แู้ ละค ำป รกึ ษาแ สวงหาค วามร ทู้ างโภชนศ าสตร์
คลินิกที่ทันสมัย และนำมาประยุกต์ใช้ในงานเพื่อลดปัญหาโรคขาดสารอาหาร และโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับอาหาร
ตลอดจนสามารถถ่ายทอดความรู้และให้คำปรึกษาด้านโภชนาการที่ถูกต้องและเหมาะสม และสอดคล้องกับวิถีการ
ดำเนินช ีวิตข องผ ู้ป ่วย ซึ่งจ ะช่วยล ดปัญหาโภชนาการท ี่เกิดขึ้น
นักกำหนดอาหารที่ทำงานในโรงพยาบาลและมีหน้าที่ที่รับผิดชอบในงานการบริการให้ความรู้และคำปรึกษา
ด้านโภชนาการ ต้องเข้าใจบทบาทของตนเอง สามารถปฏิบัติงานในการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการได้
ตามมาตรฐานวิชาชีพที่กำหนด สามารถพัฒนาตนและพัฒนางานตามกระบวนการของการให้ความรู้และคำปรึกษา
ด้านโภชนาการอย่างเป็นระบบได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งสามารถรักษามาตรฐานของงานการให้
ความร ู้แ ละค ำป รึกษาท ี่ได้พ ัฒนาแ ละป รับปรุงอ ย่างต ่อเนื่อง หากก ระทำได้เช่นน ี้เชื่อแ น่ว ่าจ ะเกิดผ ลง านท ี่ด ีเป็นท ี่พ อใจ
และประทับใจของผ ู้ป่วยและผู้รับบ ริการแ ละส่งผ ลให้ค ุณภาพของการบริการได้มาตรฐาน ประสบความส ำเร็จ บรรลุ
เป้าห มาย วัตถุประสงค์แ ละพันธก ิจข องฝ่ายโภชนาการแ ละของโรงพยาบาลต ามท ี่ได้ต ั้งไว้ในที่สุด
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช