Page 257 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 257

การ​ติดตาม​ภาวะ​โภชนาการ 15-23

       2.3 	ประเมิน​ปัญหา ว่า​ต้อง​ทำ​สิ่ง​ใด​บ้าง จัด​ลำดับ​ความ​สำคัญ​ก่อน​และ​หลัง ระยะ​สั้น ระยะ​ยาว กำหนด​
ตัวช​ ี้ว​ ัด และ​เป้า​หมาย สื่อสาร​และ​ขอ​ความ​ร่วมม​ ือ​เพื่อ​ให้​บรรลุ​ผลอ​ย่าง​จริงจัง ควรก​ ำหนดส​ ิ่งท​ ี่​เป็น​ไปไ​ด้ ไม่​ควรต​ ั้ง​
เป้าห​ มายม​ าก​ไป หรือส​ ูงไ​ปจ​ ะ​ทำให้ท​ ้อถอย ใช้เ​วลาไ​ม่​นาน​เกินไ​ป จะท​ ำให้เ​บื่อ​หน่าย

       ดำเนิน​การ​ให้​คำ​ปรึกษา​ของ​นัก​กำหนด​อาหาร ควร​จะ​ให้​มี​ความ​เหมาะ​สม​กับ​ผู้​ป่วย​แต่ละ​ราย​โดย​คำนึง​ถึง​
ความ​สามารถ​ใน​การร​ ับ​รู้​เป็นเ​กณฑ์ กระบวนการแ​ บ่ง​ได้​เป็น

            - 	การ​พดู ใ​ห้​ฟงั ใช้​สื่อก​ ารส​ อน​ที่เ​หมาะส​ มก​ ับผ​ ู้​ป่วยแ​ ต่ละ​ราย ใช้​ภาษาท​ ี่​ผู้​ฟัง​เข้าใจแ​ จ่มแ​ จ้ง ให้ม​ ี​สาระ​
แต่​ไม่น​ ่า​เบื่อห​ น่าย โดย​คำถาม​ซึ่งเ​ป็นการ​ประเมินไ​ป​ใน​ตัวว​ ่า​ผู้​ป่วย​มี​ความม​ ั่นใจ​ที่​จะ​ปฏิบัติไ​ด้

            - 	การ​ให้​ดู ภาพน​ ิ่ง ภาพ​เคลื่อนไหว เอกสารป​ ระกอบ คำ​บรรยาย จะ​เป็นค​ วามเ​ข้าใจไ​ด้ด​ ี​กว่า​การ​พูด​
อย่าง​เดียว

            - 	การแ​ สดงว​ ธิ ท​ี ำ เช่น วิธีจ​ ัดอ​ าหารใ​ห้ด​ ู วิธีเ​ลือกอ​ าหารท​ ดแทน (food exchange) แสดง​วิธีแ​ ก้ป​ ัญหา​
เฉพาะ​หน้า การ​เลือก​อาหาร​ใน​งาน​เลี้ยง​ระหว่าง​เดิน​ทาง​ไกล ก่อน​จบ​การ​ให้​คำ​ปรึกษา ต้อง​มี​การ​สรุป​ว่า​ลูกค้า​ได้​รับ​
ความ​รู้​อะไร​บ้าง​ใน​วัน​นั้นๆ และ​มี​การ​นัด​หมาย​ต่อ​เนื่อง หาก​มี​ปัญหา​ก่อน​วัน​นัด จะ​ติดต่อ​ทีม​ผู้​รักษา​ได้​อย่างไร​และ​
มอบเ​อกสาร​คำ​อธิบายต​ ิดตัว​ไปก​ ัน​ลืม

3. 	การป​ ระเมนิ อ​ งค​์ความร​ ู้

       ทำได้ด​ ังนี้
       3.1 	ซัก​ซ้อม​ความ​เข้าใจ​เป็น​ระ​ยะๆ ใน​ขณะ​ให้​คำ​ปรึกษา​เปิด​โอกาส​ให้​ซัก​ถาม สังเกต​สีหน้า​ท่าทาง​ว่า​ผู้รับ
​คำ​ปรึกษา​ให้​ความ​สนใจ​หรือ​ไม่ ควร​จัด​สถาน​ที่​ให้​สะดวก สบาย ผ่อน​คลาย และ​อยู่​ใน​สถานะ​เท่า​เทียม​กัน นิยม​ใช้​
โต๊ะ​กลม เพื่อ​ให้​มี​ความ​รู้สึก​เสมอ​ภาค ไม่ใช่​อาจารย์​กับ​ศิษย์ ใน​ขณะ​เดียวกัน​ต้อง​รักษา​ระยะ​ห่าง ไม่​ให้​เกิด​ความ​
สนิทส​ นมจ​ น​เกินไ​ป​จน​ไม่ไ​ด้​สาระ
       3.2	 การ​สาธิต​ย้อน​กลับ (Return Demonstration) ใช้​กับ​เรื่อง​ที่​ต้อง​ลงมือ​ปฏิบัติ ที่​เห็น​ชัด​คือ การ​ฉีดยา
การ​เจาะ​เลือด​ทาง​ด้าน​โภชน​บำบัด ต้อง​ออกแบบ​การ​เรียน​รู้​ให้​ผู้​ป่วย​หรือ​ลูกค้า​มี​โอกาส หยิบ​จับ​ของ​จริง ซึ่ง​อาจ​เป็น​
อาหารจ​ ริง ตัก​ได้​จริง จัดร​ ายการ​อาหาร​เป็น​ชุดต​ ามม​ ื้อ​ต่างๆ ทดลอง​แลก​เปลี่ยน​อาหาร หากเ​ป็นโ​อกาส​พิเศษ ต้องการ​
รับ​ประทาน​อาหาร​ที่​มี​น้ำตาล​สูง ไข​มัน​สูง จะ​แลก​กับ​อะไร​ที่​มี​น้ำตาล​น้อย​เส้นใย​มาก หรือ​อาจ​ทดลอง​ตั้ง​คำถาม​เป็น​
สถานการณ์​พิเศษ เช่น การ​ทำงาน​เปลี่ยน​เวลา​จาก​กลาง​วัน​เป็นก​ลาง​คืน การ​เดิน​ทาง​ข้าม​ทวีป​ที่​เวลา​ไม่​เหมือน​เดิม
การ​มี​อาชีพ​ที่​ต้อง​ตื่น​เช้า เช่น กรีด​ยาง ช่วง​เวลา​เทศกาล​ถือศีล​อด ช่วง​เวลา​เตรียม​การ​ตรวจ​พิเศษ ต้อง​งด​อาหาร​
บางม​ ื้อ ต้องใ​ช้ย​ า​ระบาย​เพื่อ​ตรวจ​ลำไส้ การเต​รีย​ ม​การ​ผ่าตัด นัก​กำหนดอ​ าหาร​ให้ค​ วามร​ ู้ แล้ว​ต้องซ​ ักซ​ ้อมใ​ห้ช​ ัดเจน
ต้อง​ให้ล​ ูกค้า​ตอบ​เอง​ไม่ไ​ด้ คำถามน​ ำ หาก​ตอบ​ผิด​ต้องแ​ ก้ไข​และ​ไม่มี​การก​ ล่าว​โทษ
       3.3	 การ​ทำ​แบบ​ทดสอบ ต้อง​ออกแบบ​ทดสอบ​ความ​รู้​ตาม​วัตถุประสงค์​ที่​สอน​ไป อธิบาย​ว่า การ​ตอบ​ไม่​ได้
มิใช่​ความ​ผิด เรื่อง​ที่​ตอบ​ไม่​ได้​แสดง​ว่า​ทีม​งาน​จะ​ต้อง​ช่วย​แก้ไข​จน​รู้​จริง จำ​ได้ แก้​ปัญหา​ได้ หาก​พบ​ปัญหา​ที่​บ้าน
จะ​มีแ​ นวทางใ​ห้ถ​ าม​ได้ต​ ลอดเ​วลา​ตาม​บัตร​แนะนำห​ มายเลข​โทรศัพท์ หรือ​ที่อ​ ยู่​ทางอ​ ีเมล (e-mail address)
       3.4 	ตดิ ตามพ​ ฤติกรรมท​ ​ป่ี รบั ​ได้ เมื่อ​ทราบว​ ิธี​การ​บริโภคอ​ าหาร​ได้​ถูกต​ ้อง ทำแ​ บบสอบถาม​ผ่าน​ตามเ​กณฑ์​ที่​
กำหนด จะต​ ้อง​สอบถาม​ว่าป​ ฏิบัติ​จริง​หรือไ​ม่ การ​มีค​ วาม​รู้​แต่ม​ ิได้​นำไ​ป​ปฏิบัติ​จะ​ไม่​ได้​ผลด​ ีต​ ่อ​สุขภาพ
       3.5 	การ​ติดตาม​ตัว​ชี้​วัด​ระยะ​ส้ัน ตาม​ที่​ตกลง​ไว้​ใน​ขณะ​ให้​คำ​ปรึกษา เช่น การ​ลด​น้ำ​หนัก​สัปดาห์​ละ 0.5
กิโลกรัม การ​ลด​น้ำตาล​จากส​ ูงม​ า​เป็นต​ ่ำ​ลงท​ ี​ละ​น้อย การล​ ด​รอบเ​อว การล​ ดร​ ะดับไ​ข​มัน เป็นต้น
       เมื่อ​ลูกค้าป​ ฏิบัติไ​ด้​ตามต​ ัวช​ ี้ว​ ัด ต้อง​มี​การ​ให้ก​ ำลัง​ใจ​ชมเชย ประกาศใ​ห้​ทีม​งาน​ทราบ ทำให้ภ​ าค​ภูมิใจ​ทั้ง​ผู้​ให้​
ความร​ ู้ และ​ผู้รับ​ความร​ ู้ แพทย์ม​ ี​ส่วน​ร่วมใ​น​การล​ ด​ขนาดย​ า ทำให้ป​ ระหยัดค​ ่า​ใช้​จ่าย​ได้​อีก

                              ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช
   252   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262