Page 259 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 259
การติดตามภ าวะโภชนาการ 15-25
2. ควรดำเนนิ ก าร ดังนี้
1) ศึกษาห าส าเหตุว่า จุดใดทลี่ กู คา้ ทำไม่ได้ ถ้ามีข อ้ เสนอแ นะทจ่ี ะทำให้ดขี ้นึ ใหท้ ดลองท ำใหม่
2) คน้ ควา้ ห าความร จู้ ากแหล่งค วามรู้ว ่าม ีวิธีใดอ กี บา้ ง
เรอ่ื งท่ี 15.2.2
การป ระเมินการป รับพ ฤติกรรมของบ คุ คล
ในบรรดาสาเหตุตายของประชากรทั่วโลกเกิดจากโรค โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง อุบัติเหตุ
โรคต ิดเชื้อ โรคเบาหวาน ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มอ าการเมแ ทบอ ลิก
สาเหตุของการเกิดโรคเรื้อรัง ส่วนหนึ่งเกิดจากพันธุกรรมซึ่งไม่มีทางแก้ไข แต่ยังมีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด
โรคที่สามารถให้ค วามรู้ เพื่อก ารป รับปรุงพฤติกรรมได้ ตามตารางท ี่ 15.1
ตารางท ี่ 15.2 การส ำรวจสุขภาพค นไ ทยค รงั้ ท ี่ 3 และครง้ั ที่ 4
ปัจจยั ท่ีปรับได้ ครง้ั ที่ 3 (พ.ศ. 2546-47) ครง้ั ท่ี 4 (พ.ศ. 2551-52)
ชาย หญิง ชาย หญิง
1. ความดันโลหิตสูง 23.3 20.9 21.5 21.3
2. การสูบบุหรี่ 45.9 2.3 38.7 2.1
3. ภาวะไขมันในเส้นเลือดผิดปกติ 13.7 17.1 16.7 21.4
4. การออกแรงไม่เพียงพอ 20.7 24.2 16.8 20.2
5. ภาวะอ้วน ดัชนีมวลกายมากกว่า 25 กิโลกรัม/ตารางเมตร 22.5 34.4 28.4 40.7
6. อ้วนลงพุง กลุ่มอาการเมแทบอลิก ซึ่งมีความอ้วน ไขมันสูง 15.4 36.1 18.6 45
ความดันโลหิตสูง น้ำตาลสูง
7. กินผักและผลไม้ไม่เพียงพอ น้อยกว่า 5 ส่วนต่อวัน 20 24 16.9 18.5
8. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 16.6 2.1 13.2 1.6
9. เบาหวาน 6.4 7 6 7.7
ท่มี า: สถิติก ระทรวงส าธารณสุข
ลขิ สิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช