Page 260 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 260

15-26 อาหาร​และโ​ภชนบ​ ำบัด

       ในก​ าร​ให้​คำ​ปรึกษา​ด้าน​โภชน​บำบัด​นั้น จะแ​ ตก​ต่างจ​ ากก​ าร​ให้ค​ วามร​ ู้ท​ ั่วไป การใ​ห้​คำ​ปรึกษาม​ ุ่งห​ มายใ​ห้เ​กิด​
การ​เปลี่ยนแปลงพ​ ฤติกรรม เพื่อผ​ ล​ใน​การ​รักษา ฟื้นฟู​สุขภาพ ส่งเ​สริมสุข​ภาพ และ​ป้องกัน​โรคเ​รื้อรัง

       ข้นั ต​ อน​ทจ​่ี ะท​ ำให​เ้ กิด​ความส​ ำเร็จใ​นก​ าร​เปล่ียนพ​ ฤติกรรมเ​รม่ิ จ​ าก
       1) 	มีค​ วาม​รู้
       2) 	ต้องการป​ รับ​ด้วยต​ นเอง
       3) 	ฝึกท​ ำ​จน​เกิดค​ วาม​ชำนาญ
       4) 	สร้างท​ ัศนคติท​ ี่ด​ ี​ต่อก​ าร​ปฏิบัติ
       5) 	ช่วยใ​ห้ค​ วาม​สะดวก เช่น จัดหา​แหล่ง​ความร​ ู้
       6) 	ช่วยก​ ระตุ้น​ให้ผ​ ู้​อื่นป​ รับ​พฤติกรรมด​ ้วย
       7) 	ทีมง​ าน​ช่วย​ย้ำ​เตือน​ให้ข​ ้อมูล และ​กระตุ้นก​ ารป​ ฏิบัติต​ ่อ

1. 	ปจั จยั ท​ ี่​ทำใหป​้ ระสบ​ความส​ ำเร็จ​ใน​การป​ รับ​พฤตกิ รรม

       นัก​กำหนด​อาหาร​เป็น​ผู้​มี​บทบาท​สำคัญ​ต่อ​การ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​ของ​กลุ่ม​เป้า​หมาย ปัจจัย​สำคัญ​ที่​จะ​
ช่วยใ​ห้​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม ได้แก่

       1) 	ผู้ใ​ห้ค​ ำ​ปรึกษาต​ ้องหา​ข้อมูลใ​หม่​มา​เพิ่ม​เติมใ​ห้​ทันส​ มัย
       2) 	ผู้ใ​ห้ค​ ำ​ปรึกษาต​ ้อง​สนับสนุน​ตลอด แม้ว่า​จะ​ปรับพ​ ฤติกรรม​ได้​เพียงเ​ล็กน​ ้อย​ก็ตาม
       3) 	ช่วยห​ าแ​ หล่ง​จำหน่าย​อาหาร​ที่เ​หมาะ​สมก​ ับ​สุขภาพ
       4) 	ช่วยส​ นับสนุนจ​ ัดก​ ลุ่มใ​น​ชุมชนร​ ักส​ ุขภาพ
       5) 	สำหรับ​ผู้ท​ ี่อ​ ่าน​หนังสือไ​ม่​ออก ต้องหาว​ ิธี​ให้​ข้อมูล​ที่ส​ ะดวกต​ ่อ​การ​รับ​รู้
       6) 	ผู้ส​ ูงว​ ัยบ​ าง​คน​อาจต​ ่อต​ ้าน เพราะ​มี​ความเ​ชื่อ​ถือ​ที่ม​ ี​มาแ​ ต่​เดิม
       7) 	การม​ ีว​ ัฒนธรรมป​ ระเพณี​ที่แ​ ตก​ต่าง ต้องไ​ด้​รับก​ าร​ยอมรับ​และ​ให้​ความเ​ข้าใจ
       8) 	คำป​ รึกษาต​ ้องใ​ห้เ​หมาะ​สม​กับ​แต่ละบ​ ุคคล
       9) 	ใน​กระบวนการใ​ห้ค​ ำ​ปรึกษาต​ ้อง​ให้​ความ​เข้าใจ ให้​ความเ​คารพ​ใน​สิทธิ​ของค​ วามเ​ป็นม​ นุษย์ จะท​ ำให้​เกิด​
ความ​ไว้​วางใจ​ต่อ​กัน ผู้รับ​คำ​ปรึกษา​จึง​จะ​รายงาน​ผล​การ​ปรับ​พฤติกรรม​อย่าง​จริงใจ หาก​มี​ข้อ​สงสัย​ให้​แลก​เปลี่ยน​
ข้อมูลซ​ ึ่ง​กัน​และก​ ัน และ​แก้ไขป​ ัญหา​ร่วมก​ ัน
       10)	หลีกเ​ลี่ยงก​ าร​ออกค​ ำ​สั่งแ​ ก่​ผู้รับค​ ำป​ รึกษา แต่​ให้​ข้อมูล ตอบค​ ำถามใ​ห้​หายส​ งสัย และ​ให้​ผู้รับ​คำป​ รึกษา​
สรุป​การเ​ปลี่ยนแปลง​เอง

2. 	การ​ประเมินผ​ ล​ของ​วิธ​ีการ​ตา่ งๆ ในก​ าร​ปรับพ​ ฤตกิ รรม

       ทีม​ผู้​รักษา​ต้อง​ประเมิน​ความ​สำเร็จ​ของ​การ​ให้​คำ​ปรึกษา การ​ทำงาน​เสร็จ​แต่ละ​ช่วง​เวลา​ยัง​ไม่​ประกัน​ว่า​
จะ​เกิด​ผล​ตาม​ต้องการ การ​ให้​คำ​ปรึกษา​ควร​ให้​เป็น​ความ​ลับ​เฉพาะ​ของ​ผู้​ป่วย มี​การ​ทบทวน​กลยุทธ์​ที่​ได้​ผล​ใน​การ​
ให้ค​ ำ​ปรึกษา​พบส​ ิ่งท​ ี่​น่าส​ นใจ ดังนี้

       2.1	 การ​ใช้​วิธ​กี าร Cognitive behavioral therapy (CBT) ได้​ผล​ดี​ทางด​ ้าน​พฤติกรรม​บริโภค การ​ลดน​ ้ำ​หนัก
การ​ลด​ความ​เสี่ยง​ของ​โรค​เบา​หวาน​และ​โรค​หลอด​เลือด​แดง ได้​รวบรวม​เคล็ด​ลับ คือ ไม่​กำหนด​กิจกรรม​ว่า​จะ​ต้อง​
เปลี่ยน​อะไร แต่บ​ อกว​ ิธีว​ ่าจ​ ะ​เปลี่ยนอ​ ยา่ งไร โดย​เปลี่ยนต​ ั้งแต่​ความ​คิด ศึกษา​พฤติกรรม​ติดตาม​ด้วยก​ าร​แลกเ​ปลี่ยน​
ข้อคิดเ​ห็น เป็นการส​ ื่อสาร 2 ทาง

                             ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265