Page 248 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 248

15-14 อาหารแ​ ละ​โภชน​บำบัด

3. 	การ​ติดตาม​และป​ ระเมนิ ​ผลก​ าร​ใหค้​ วามร​ ​แู้ ละ​คำป​ รึกษาด​ ้านโ​ภชนาการ

       การต​ ิดตามแ​ ละป​ ระเมินผ​ ลก​ ารใ​ห้ค​ วามร​ ู้แ​ ละค​ ำป​ รึกษาด​ ้านโ​ภชนาการเ​ป็นส​ ิ่งส​ ำคัญ​ ทั้งน​ ี้เพื่อใ​ห้ผ​ ู้ป​ ่วยไ​ด้ร​ ับ
อ​ าหารบ​ ำบัดแ​ ละค​ ำแ​ นะนำท​ ี่ถ​ ูกต​ ้องก​ ับส​ ภาวะข​ องโ​รคท​ ี่เ​ป็นอ​ ยู่ การต​ ิดตามผ​ ู้ป​ ่วยเ​ป็นก​ ิจกรรมท​ ี่ต​ ้องท​ ำอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง
หาก​ผู้​ป่วย​ต้อง​เข้า​มา​รักษา​ตัว​ใน​โรง​พยาบาล (admit) อยู่ ควร​มี​การ​ประเมิน​ตั้งแต่​เริ่ม​เข้า​มา​อยู่​ใน​โรง​พยาบาล และ​
ติดตามผ​ ลท​ ุก​สัปดาห์ สำหรับผ​ ู้​ป่วย​ที่​กลับบ​ ้าน​แล้ว เมื่อ​แพทย์น​ ัด​มา​ตรวจอ​ าการค​ รั้ง​ต่อไ​ป ควร​เพิ่มก​ าร​ติดตามผ​ ล​
การใ​ห้การร​ ักษา โดย​รวบรวมศ​ ึกษาแ​ ละว​ ิเคราะห์ข​ ้อมูล​ต่างๆ เช่น

            - 	ประวัติค​ รอบครัว
            - 	พฤติกรรม​การ​บริโภค
            - 	การ​ประเ​มินก​ าร​บริโภค​อาหารข​ อง​ผู้​ป่วย (24 hours recall)
            - 	ประวัติ​บริโภค​นิสัย ลัก​ษณ​ ะ​การก​ ิน
            - 	การ​วินิจฉัย​โรค​จาก​ผล​การ​วิเคราะห์​จาก​ห้อง​ปฏิบัติ​การ (lab) ค่า​ต่างๆ ที่​เกี่ยวข้อง​ทาง​ด้าน​
โภชนาการ
            การ​ประเมิน​พฤติกรรม​การ​บริโภค​อาหาร​เป็น​ขั้น​ตอน​หนึ่ง​ของ​การ​ประเมิน​ภาวะ​โภชนาการ และ​เป็น​
วิธี​การ​ขั้น​พื้น​ฐาน​ที่​จำเป็น​เพื่อ​ให้​ได้​ข้อมูล​ที่​ถูก​ต้อง​เฉพาะ​บุคคล และ​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​ให้​ความ​รู้​และ​คำ​ปรึกษา​ได้​
อย่าง​ถูก​ต้อง​และ​เหมาะ​สม​กับ​พฤติกรรม​การ​บริโภค​อาหาร และ​วิธี​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ของ​ผู้รับ​การ​ปรึกษา ซึ่ง​จะ​ช่วย​ให้
การป​ รับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​การ​บริโภค​เป็น​ไปไ​ด้อ​ ย่างต​ ่อ​เนื่อง​และ​ถาวร
            การ​ติดตาม ประเมินผ​ ล และ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรมแ​ ละ​แบบแผน​การ​ปฏิบัติ​ตน​ใน​การ​บริโภค​อาหาร​
ให้เ​หมาะส​ ม​กับ​ภาวะข​ องผ​ ู้ป​ ่วย​และค​ รอบครัว​เป็นร​ ะย​ ะๆ อย่าง​ต่อเ​นื่อง รวม​ทั้งก​ ารใ​ห้​กำลังใ​จแ​ ละ​ความ​ร่วมม​ ือ​จาก​
ผู้​ที่​ให้การ​ดูแล​ผู้​ป่วย​และ​ผู้​ใกล้​ชิด จะ​ช่วย​สนับสนุน​ให้​ผู้​ป่วย​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​การ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​และ​
สามารถ​ลด​ความ​เสี่ยงข​ องก​ าร​เกิด​โรค​หรือ​ควบคุม​โรค​ได้​ดี
            ผู้​ประเมิน​ต้องเต​รี​ยม​ตัว ให้​ผู้​ป่วย​ไว้​วางใจ เกิด​ความ​ศรัทธา และ​บอก​ความ​จริง มี​อัธยาศัย​ไมตรี
มี​ความ​จริงใจ ให้ค​ วาม​คุ้นเ​คย พูดค​ ุย​กับ​ผู้ป​ ่วย​เหมือนญ​ าติ เป็นผ​ ู้​ฟัง​ที่ด​ ี มี​จิตใจ​กว้างข​ วาง อดทน สุขุม ช่าง​สังเกต
ไม่ต​ ่อ​ต้าน​คำ​บอก​เล่า ให้​เกียรติแ​ ก่​ผู้ป​ ่วย คำ​บอก​เล่าแ​ ละต​ ัวผู้​ป่วยส​ ำคัญเ​สมอ

  กจิ กรรม 15.1.2
         จง​เลือกค​ ำต​ อบท​ ่​ถี กู ​ต้อง​ที่สดุ ​เพียงค​ ำ​ตอบ​เดยี ว
         1. 	 ข้อ​ใดเ​ป็นกร​ ะ​บวนก​ ารใ​ห​้ความร​ ู้​และ​คำป​ รึกษาด​ ้าน​โภชน​การ​ทีถ​่ กู ต​ ้องท​ ีส่ ดุ
              ก.	 การป​ ระเมนิ ภ​ าวะโ​ภชนาการ และก​ ารต​ ดิ ตามแ​ ละก​ ารป​ ระเมนิ ผ​ ลก​ ารใ​หค​้ วามร​ แ​ู้ ละค​ ำป​ รกึ ษา
              ข. 	หลัก​การ​และ​เทคนิค​ใน​การ​ให้​ความ​รู้ และ​คำ​ปรึกษา​แนะนำ​ด้าน​โภชนาการ และ​การ​ติดตาม​

  และก​ ารป​ ระเมินผ​ ลก​ ารใ​ห้​ความร​ ู​้และค​ ำป​ รึกษา
              ค. 	การ​ประเมินภ​ าวะ​โภชนาการ การ​ตรวจท​ าง​ชีวเคมี และ​หลกั ​การแ​ ละ​เทคนคิ ใ​น​การ​ให้ค​ วามร​ ​ู้

  และค​ ำ​ปรกึ ษาแ​ นะนำด​ า้ นโ​ภชนาการ
              ง. 	 การ​ประเมิน​อาหาร​บริโภค หลัก​การ​และ​เทคนิค​ใน​การ​ให้​ความ​รู้​และ​คำ​ปรึกษา​แนะนำ​ด้าน​

  โภชนาการ และก​ ารต​ ดิ ตาม​และก​ าร​ประเมนิ ผ​ ล​การ​ใหค​้ วาม​ร​้แู ละ​คำ​ปรกึ ษา
              จ. 	 การป​ ระเมนิ ภ​ าวะโ​ภชนาการ หลกั ก​ ารแ​ ละเ​ทคนคิ ใ​นก​ ารใ​หค​้ วามร​ ู้ และค​ ำป​ รกึ ษาแ​ นะนำด​ า้ น​

  โภชนาการ และก​ าร​ตดิ ตาม​และ​การป​ ระเมนิ ​ผลก​ ารใ​ห​ค้ วามร​ ​ูแ้ ละ​คำป​ รึกษา

                             ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253