Page 246 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 246

15-12 อาหารแ​ ละโ​ภชนบ​ ำบัด

            เมื่อ​ได้ข​ ้อมูลช​ นิด​และ​ปริมาณ​อาหารท​ ี่​กินแ​ ล้ว นัก​โภชนาการ​จะต​ ้องป​ ระเมิน
                1) 	ปริมาณ​พลังงานแ​ ละ​สารอ​ าหาร​ต่างๆ เพียง​พอห​ รือไ​ม่ โดย​เปรียบเ​ทียบก​ ับข​ ้อ​กำหนด​ที่​ควร​

บริโภคใ​น 1 วัน (dietary reference intake)
                2) 	รูป​แบบ​และล​ ักษณะข​ องอ​ าหารท​ ี่​บริโภคต​ ามป​ กติ
                3) 	ปริมาณ​ไขม​ ันท​ ี่บ​ ริโภค​และช​ นิด​ของไ​ข​มัน
                4) 	การก​ระ​จาย​ตัว​ของ​สาร​อาหาร: ไขม​ ัน โปรตีน และ​คาร์โบไฮเดรต
                5) 	ปริมาณ​ใยอ​ าหาร​ที่​บริโภค
                6) 	การบ​ ริโภคผ​ ัก ผลไ​ม้ ถั่ว​เมล็ด​แห้ง ข้าว ธัญพืช​ทั้ง​ที่ข​ ัด​สี​และไ​ม่​ขัด​สี
                7) 	การ​บริโภค​เนื้อ​สัตว์ ปลา ไข่ ถั่วเ​หลืองแ​ ละ​ผลิตภัณฑ์​จากน​ ม​ถั่ว​เหลือง
                8) 	ความถี่ข​ อง​การร​ ับ​ประทานอ​ าหารน​ อก​บ้าน
                9) 	การ​ดื่ม​สุรา
                10)	การ​รับ​ประทาน​วิตามินแ​ ละ​เกลือแ​ ร่​เสริม

       นอกจากก​ ารป​ ระเมนิ ภ​ าวะโ​ภชนาการด​ ว้ ยว​ ธิ กี​ ารท​ กี​่ ล่าวม​ าข​ า้ งต​ น้ แ​ ลว้ น​ ัน้ นกั ก​ ำหนดอ​ าหารห​ รอื น​ กั โ​ภชนาการ​
ยัง​ต้อง​อาศัย​การ​วิเคราะห์​จาก​ปัจจัยอ​ ื่นๆ ร่วมด​ ้วย​อีก เช่น การอ​ อก​กำลังก​ าย ทัศนคติ ความ​รู้ และ​ความพ​ ร้อม​ของ​
ผู้​ป่วย ประวัติการส​ ูบ​บุหรี่ และ​ข้อม​ ูลอ​ ื่นๆ

       การ​ออก​กำลงั ก​ าย ประเมินจ​ าก
            - 	ชนิด​ของ​การ​ออกก​ ำลังก​ าย
            - 	ความถี่ ระยะ​เวลา สิ่งจ​ ูงใจแ​ ละส​ ิ่ง​กระตุ้น​ของ​การ​ออก​กำลัง​กาย

       ทัศนคติ ความร​ ู้ และ​ความ​พรอ้ มข​ อง​ผู้ป​ ว่ ย ประเมินจ​ าก
            - 	เข้าใจถ​ ึง​ผลกร​ ะ​ทบ​ของโ​รค​เรื้อรังท​ ี่​สัมพันธ์​กับอ​ าหาร และโ​รค​แทรกซ้อน​ที่​จะเ​กิด​ขึ้น
            - 	การ​ควบคุมน​ ้ำ​หนักต​ ัว
            - 	การ​เรียน​รู้เ​รื่องอ​ าหาร โภชนาการ และก​ ารเ​ปลี่ยน​พฤติกรรม

       ประวัตกิ ารส​ ูบบ​ ุหรี่
       ข้อ​มลู อ​ ืน่ ๆ ประเมิน​จาก

            - 	ความ​เป็น​อยู่
            - 	ฐานะก​ ารเ​งิน
            - 	ระดับ​การ​ศึกษา การ​อ่านอ​ อกเ​ขียนไ​ด้
            - 	การ​ทำงานแ​ ละ​อาชีพ
            - 	ศาสนา​และ​วัฒนธรรม
       การ​ประเมิน​ภาวะ​โภชนาการ​ทั้ง 4 วิธี​มี​ความ​สำคัญ​ที่​จะ​ช่วย​ให้​ผล​การ​ประเมิน​ภาวะ​โภชนาการ​ถูก​ต้อง​และ​
สมบูรณ์ ทั้งนี้ เพราะ​หาก​เกิด​ภา​วะ​ทุพ​โภชนาการ ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ภาวะ​ขาด​หรือ​เกิน​ของ​สาร​อาหาร​ย่อม​ทำให้​เกิด​การ​
เปลี่ยนแปลง​ของร​ ่างกายไ​ด้​หลาย​ขั้นต​ อน ขึ้นอ​ ยู่​กับ​ความร​ ุนแรง​และ​ระยะเ​วลา ดังแ​ สดง​ใน​ตารางท​ ี่ 15.1

                             ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251