Page 251 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 251

การ​ติดตามภ​ าวะโ​ภชนาการ 15-17

       1.3	 ข้ัน​เตรียม​พร้อม (Preparation) เป็น​ขั้น​ที่​บุคคล​เริ่ม​มี​แรง​จูงใจ มี​ความ​ตั้งใจ​ว่า ตนเอง​จะ​เริ่ม​เปลี่ยน​
พฤติกรรม เริ่ม​มี​การ​แสวงหา​ข้อมูล​ความ​รู้​ที่​เป็น​ประโยชน์​เพื่อ​ใช้​ใน​การ​เปลี่ยนแปลง​ตนเอง เริ่ม​ยอมรับ​ว่าการ​
เปลี่ยนแปลง​พฤติกรรม​จะ​ทำให้​การ​ควบคุม​โรค​ของ​ตนเอง​ดี​ขึ้น เริ่ม​วางแผน​ที่​จะ​เปลี่ยนแปลง​พฤติกรรม​ให้​ได้​ตาม​
เป้า​หมาย​ใน​อนาคตอ​ ัน​ใกล้ เริ่มล​ องท​ ำใ​น​บาง​สิ่งบ​ างอ​ ย่าง มีค​ วามเ​ชื่อ​มั่น​ว่า​จะ​ทำได้ส​ ำเร็จ

       1.4 	ขั้นล​ งมอื ​ปฏิบัติ (Action) เป็น​ขั้นท​ ี่ม​ ี​ความต​ ั้งใจ​อย่างม​ ุ่ง​มั่น​ที่จ​ ะ​ทำให้​สำเร็จ กำหนด​เป้าห​ มายแ​ ละ​ระยะ​
เวลาใ​นก​ ารป​ ฏิบัติ เริ่มม​ องเ​ห็นผ​ ลง​ านท​ ี่ไ​ดก้​ ระทำ อย่างไรก​ ็ตามอ​ าจม​ คี​ วามเ​สี่ยงท​ ีจ่​ ะก​ ลับไ​ปส​ ูพ่​ ฤติกรรมร​ วมเ​นื่องจาก​
มีป​ ัจจัย​หรือ​สิ่ง​ยั่วยวนท​ ี่​เป็นอ​ ุปสรรค

       1.5 	ขัน้ ด​ ำรง​พฤติกรรม (Maintenance) เป็น​ขั้น​ที่​บุคคลส​ ามารถค​ ง​พฤติกรรม​ใหม่​ได้อ​ ย่าง​ต่อ​เนื่องเ​กิน​กว่า
6 เดือน เพื่อ​เป็นการป​ ้องกันก​ ารก​ลับ​ไป​สู่พ​ ฤติกรรม​เดิม​ที่​ไม่​พึง​ประสงค์ เริ่ม​เห็นผ​ ล​ของก​ ารป​ ฏิบัติ​ที่ไ​ด้​กระทำ​มาห​ ลัง​
จากท​ ี่ไ​ด้ท​ ดลองท​ ำม​ าแ​ ล้วส​ ักร​ ะยะห​ นึ่งอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง มีค​ วามม​ ั่นใจท​ ี่จ​ ะด​ ำรงพ​ ฤติกรรมน​ ี้ต​ ่อไ​ป เพื่อใ​ห้บ​ รรลุเ​ป้าห​ มาย​
ที่ต​ ั้งใจไ​ว้​มี​ความพ​ ยายาม​อย่างเ​ต็ม​ที่​ที่จ​ ะ​ไม่ห​ วน​กลับไ​ป​สู่​พฤติกรรม​เดิม​อีก

       สิ่ง​ที่​ต้อง​ตระหนัก​เสมอ​คือ​  คน​ทุก​คน​มี​ความ​แตก​ต่าง​กัน​ใน​ความ​พร้อม​  ผู้​ให้​คำ​ปรึกษา​ควร​ประเมิน​ความ​
พร้อม​ของ​ผู้​ป่วย​ว่า​  มี​ความ​พร้อม​อยู่​ใน​ระยะ​ใด​ซึ่ง​แต่ละ​ระยะ​ต้อง​ใช้​เวลา ข้อ​สำคัญ​คือ​อย่า​เร่ง​รีบ รัด​ขั้น​ตอน​หรือ
ใ​ช้ว​ ิธี​บังคับใ​ห้​ยอม​จำนน

       เมื่อ​ทราบ​ถึง​ขั้น​ตอน​การ​เปลี่ยนแปลง​พฤติกรรม​ของ​บุคคล​แล้ว นัก​กำหนด​อาหาร​ควร​เรียน​รู้​เทคนิค การ​
สื่อสาร​ในก​ าร​ให้ค​ ำป​ รึกษาแ​ ก่​ผู้ป​ ่วย

2. 	การ​สื่อสาร​เพอ่ื ​การใ​หค​้ ำ​ปรกึ ษา

       เทคนิคใ​นก​ ารส​ ื่อสารเ​พื่อใ​ห้การ ให้ค​ ำป​ รึกษาก​ ับผ​ ู้ป​ ่วยน​ ั้นเ​ป็นไ​ปไ​ด้อ​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพใ​นแ​ ต่ละข​ ั้นต​ อนน​ ั้น​
ควร​เริ่ม​การ​สื่อสาร​ในแ​ ต่ละ​ขั้น​ตอน ดังนี้

       1) 	การ​สร้างส​ ัมพันธภาพ
       2) 	การส​ ำรวจ​ความร​ ู้สึก นึกคิด และพ​ ฤติกรรมก​ ารร​ ับป​ ระทานเ​พื่อ​ให้​เข้าใจพ​ ฤติกรรม
       3) 	การใ​ห้ข​ ้อมูล​แนะนำ​เพื่อก​ าร​ร่วมว​ างแผน​กำหนดเ​ป้าห​ มาย
       4) 	การต​ ิดตาม​ผล
       นัก​กำหนด​อาหาร​และ​ผู้​ที่​ให้​คำ​ปรึกษา​จะ​ต้อง​มี​องค์​ความ​รู้ ใน​การ​แนะนำ​การ​บริโภค​อาหาร​ที่​เหมาะ​สม​
กับ​สภาพ​ปัญหา​ทาง​โภชนาการ​ที่​ผู้​ป่วย​เป็น​อยู่ และ​สามารถ​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​การ​บริโภค​อาหาร​ของ​ผู้​ที่​ได้​รับ
คำ​ปรึกษาไ​ด้อ​ ย่างเ​ป็น​รูปธ​ รรมโ​ดยใ​ห้​สอดคล้องก​ ับ​วิถีก​ ารด​ ำเนินช​ ีวิต​ของผ​ ู้ป​ ่วย จึง​จะ​ได้ผ​ ล​ที่​ดี​ต่อส​ ุขภาพ ในท​ ี่น​ ี้ข​ อ​
ยกต​ ัวอย่าง​การ​ให้​ความร​ ู้แ​ ละ​คำ​ปรึกษา​ด้าน​โภชนาการส​ ำหรับผ​ ู้​ที่​มีป​ ัญหา​โภชนาการ​เกินใ​น​ผู้ท​ ี่​ป่วย​เป็นโ​รคอ​ ้วน และ​
ผู้​ที่​มีค​ วามผ​ ิด​ปกติ​ของ​ไขม​ ัน​ในเ​ลือด

3. 	แนวทางก​ าร​ให​ค้ วาม​รแู​้ ละ​คำป​ รึกษาด​ า้ นโ​ภชนาการส​ ำหรับ​ผู​้ท่มี​ ​ีปญั หา​โภชนาการเ​กิน

       3.1 	การใ​หค​้ วามร​ แ​ู้ ละค​ ำป​ รกึ ษาด​ า้ นโ​ภชนาการส​ ำหรบั ผ​ ท​ู้ เ​ี่ ปน็ โ​รคอ​ ว้ น โรค​อ้วนเ​ป็น​ปัจจัย​เสี่ยง​ที่ส​ ำคัญ​ของ​
การเ​กิดโ​รค​เรื้อรัง​หลาย​โรค​ที่​เป็นป​ ัญหาต​ ่อ​สุขภาพ เช่น ภาวะ​ไขม​ ัน​ในเ​ลือด​สูง โรคห​ ัวใจ​ขาดเ​ลือด โรคเ​บา​หวาน​ชนิด​
ที่ 2 โรค​ความ​ดันโ​ลล​ ิตส​ ูง โรคเ​ม​แทบ​อ​ลิกซ​ ิน​โด​รม (Metabolic syndrome) โภชนาการ​มีบ​ ทบาทส​ ำคัญ ทั้ง​ในด​ ้าน​
การ​เพิ่ม​ความ​เสี่ยง​และ​ลด​ความ​เสี่ยง​ของ​โรค​อ้วน ผู้​ป่วย​โรค​อ้วน​ต้อง​ปรับ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​การ​บริโภค​อาหาร​และ​
วิธี​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ให้​เหมาะ​สม​เพื่อ​ให้​สามารถ​ควบคุม​น้ำ​หนัก​ได้​ดี ผู้​ป่วย​ควร​ทราบ​ถึง​ปัญหา​ของ​โรค​อ้วน​และ​เรียน​รู้​
วิธี​การ​ปรับ​อาหาร และ​วิถี​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ให้​ถูก​ต้อง ซึ่ง​เป็น​สิ่ง​ที่​จำเป็น​ที่​จะ​ช่วย​ป้องกัน และ​ลด​ภาวะ​แทรกซ้อนข​ อง​
โรค​อ้วน​ได้

                              ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256