Page 240 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 240

15-6 อาหารแ​ ละ​โภชนบ​ ำบัด

แ​ ละส​ อดคล้องก​ ับว​ ิถชี​ ีวิตข​ องผ​ ู้ป​ ่วย เป็นผ​ ลใ​หภ้​ าวะโ​ภชนาการแ​ ละส​ ุขภาพข​ องผ​ ู้ป​ ่วยด​ ีข​ ึ้น เช่น การก​ ำหนดใ​ห้การด​ ูแล​
โรคต​ า่ งๆ ในโ​รงพ​ ยาบาลม​ ักจ​ ะใ​ชท้​ ีมท​ างการแ​ พทยห​์ ลายๆ สาขา หรือท​ ีเ​่ รียกก​ นั ว​ า่ สหส​ าขาว​ ชิ าชพี (Health care team)
ดูแลผ​ ู้ป​ ่วยร​ ่วมก​ ัน ที่เ​กี่ยวข้อง​ได้แก่ แพทย์ เภสัชกร พยาบาล และ​นัก​โภชนาการ โดยแ​ พทย์จ​ ะ​ทำ​หน้าที่เ​ป็นท​ ี่ป​ รึกษา
นักโ​ภชนาการน​ อกจากด​ ูแลอ​ าหารส​ ำหรับผ​ ูป้​ ่วยใ​นโ​รงพ​ ยาบาลแ​ ล้ว ยังม​ บี​ ทบาทร​ ่วมก​ ำหนดแ​ ผนการร​ ักษาท​ ีเ่​กี่ยวเ​นื่อง​
กบั โ​ภชนาการอ​ ยา่ งม​ รี​ ะบบแ​ ละต​ ่อเ​นือ่ ง เชน่ การป​ ระเมนิ ส​ ภาวะโ​ภชนาการข​ องผ​ ปู้​ ว่ ย การใ​หค​้ ำป​ รกึ ษาเ​กี่ยวก​ ับแ​ นวทาง​
การ​รักษา​ผู้​ป่วย​ที่​มี​ภา​วะ​ทุพ​โภชนาการ หรือ​การ​ให้​คำ​แนะนำ​ใน​การ​ป้องกัน​ภาวะ​โภชนาการ​ด้วย​อาหาร​ทั่วไป อาหาร​
ทางการ​แพทย์ อันเ​ป็นผ​ ล​ให้การด​ ูแล​ผู้​ป่วย​เป็นอ​ ย่าง​มีป​ ระสิทธิภาพแ​ ละป​ ระสิทธิผลด​ ี​ที่สุด เช่น โรคเ​บา​หวาน​เป็น​โรค​
ที่​ปัจจุบัน​ต้อง​อาศัย​ทีม​งาน​ใน​การ​ที่​จะ​ช่วย​ดูแล​ผู้​ป่วย​ให้​ได้​ผล​เต็ม​ที่​มาก​ที่สุด ซึ่ง​เป้า​หมาย​ใน​การ​รักษา​โรค​เบา​หวาน
​ให้​ได้​ผล​เต็ม​ที่ ก็​คือ การ​ที่​ชะลอ​หรือ​ป้องกัน​การ​เกิด​โรค นั่นเอง การ​ที่​จะ​บรรลุ​เป้า​หมาย​ได้​ต้อง​อาศัย​บุคลากร ซึ่ง​
ประกอบ​ด้วย​วิทยากร​จาก​ทีม​สห​สาขา​วิชาชีพ​ดัง​กล่าว​ข้าง​ต้น นอกจาก​นี้ ยัง​อาจ​ต้อง​ใช้​บุคลากร​ซึ่ง​เป็น​ผู้​เชี่ยวชาญ​
เฉพาะ เช่น ผู้​เชี่ยวชาญใ​ห้​ความร​ ู้​โรค​เบาห​ วาน ผู้​เชี่ยวชาญ​ใน​ด้านก​ าร​ดูแล​เท้า ผู้เ​ชี่ยวชาญใ​น​ด้านก​ ารอ​ อก​กำลัง​กาย
เป็นต้น บุคลากรเ​หล่าน​ ี้​จะท​ ำ​หน้าที่​เป็นผ​ ู้ใ​ห้ค​ วามร​ ู้ใ​นเ​รื่องส​ าเหตุข​ องโ​รค รวมท​ ั้งโ​รคแ​ ทรกซ้อน​ต่างๆ รวมท​ ั้ง​สอน​ใน​
การด​ ้านก​ าร​ปฏิบัติท​ ี่จ​ ะ​ให้ผ​ ู้ป​ ่วยส​ ามารถ​ดูแลห​ รือ​ป้องกันต​ นเอง​ได้

       นัก​กำหนด​อาหาร​หรือ​นัก​โภชนาการ จะ​เป็น​ผู้​ที่​สอน​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​อาหาร สามารถ​ตรวจ​สอบ​
พฤติกรรมก​ ารร​ ับ​ประทานอ​ าหารข​ องผ​ ู้​ป่วยแ​ ต่ละร​ าย และส​ ามารถใ​ห้ค​ ำแ​ นะนำใ​น​เรื่องอ​ าหารส​ ำหรับผ​ ู้​ป่วยแ​ ต่ละค​ น
ซึ่ง​อาจ​จะ​มี​ความ​ผิด​ปกติ​ของ​ร่างกาย ค่า​ของ​ผล​เลือด และ​มี​ประวัติ​ของ​โรค​แตก​ต่าง​กัน​ออก​ไป นอกจาก​นัก​กำหนด​
อาหาร​จะต​ ้อง​เป็นผ​ ู้ท​ ี่ม​ ี​ความเ​ชี่ยวชาญใ​น​การก​ ำหนดอ​ าหารใ​ห้​แก่​ผู้​ป่วย​ให้เ​หมาะส​ มก​ ับ​โรค เช่น โรคไ​ต โรค​เบาห​ วาน
โรค​คข​ าดส​ ารอ​ าหาร โรค​มะเร็ง ฯลฯ และ​สภาวะค​ วามต​ ้องการอ​ าหาร​ของร​ ่างกาย เช่น หญิงม​ ี​ครรภ์ ผู้ส​ ูง​อายุ ฯลฯแ​ ล้ว
ยงั ต​ อ้ งเ​ปน็ ผ​ ทู​้ มี​่ ค​ี วามเ​ขา้ ใจถ​ งึ อ​ ทิ ธพิ ลข​ องอ​ าหารท​ มี​่ ก​ี ารร​ กั ษาผ​ ปู​้ ว่ ยท​ างโ​ภชนบ​ ำบดั เพราะก​ ารร​ กั ษาท​ างอ​ าหารน​ อกจาก​
จะ​เป็นการใ​ห้โ​ภชน​บำบัดแ​ ล้ว ยังส​ ามารถ​ป้องกัน​โรคไ​ด้อ​ ีก​ด้วย

2. 	คลินกิ ​โภชนาการ

       ผู้​ป่วยท​ ี่ม​ ี​ปัญหาด​ ้าน​โภชนาการ​ซึ่งเ​คย​รับไ​ว้​รักษาใ​น​โรง​พยาบาล และ​จำเป็นต​ ้องม​ าร​ ับ​บริการต​ ิดตามผ​ ล​การ​
รักษาด​ ้านโ​ภชนาการอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง แพทยแ์​ ละน​ ักก​ ำหนดอ​ าหารม​ ักจ​ ะน​ ัดผ​ ูป้​ ่วยม​ าต​ รวจท​ ีค่​ ลินิกโ​ภชนาการ (Nutrition
clinic) สำหรับ​ผู้ป​ ่วยน​ อก​เป็น​ระ​ยะๆ คลินิก​โภชนาการ (ภาพ​ที่ 15.1) เป็นส​ ถานท​ ี่​ที่ใ​ห้​บริการป​ ระเมินภ​ าวะ​โภชนาการ
ให้​คำ​แนะนำ​การต​ รวจ​รักษา​และ​แก้ไขป​ ัญหา​ทุพ​โภชนาการ​ขาด​และ​เกิน เช่น โรค​ขาด​สาร​อาหาร โรค​เรื้อรัง​ที่ส​ ัมพันธ​์
กับอ​ าหาร ให้​แก่ผ​ ู้ป​ ่วยก​ ่อน​และ​หลัง​บำบัดร​ ักษาโ​รค​ปฐม​ภูม​ ิอ​ ื่นๆ ทางอ​ ายุร​กรรม​หรือ​ศัลยกรรม และ​ให้​คำป​ รึกษาก​ ับ​
ผู้​ป่วย​จาก​หน่วยง​ า​นอื่นๆ ที่เ​กี่ยวข้องท​ ี่​ต้องการค​ ำ​แนะนำท​ างโ​ภชนาการ

                             ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244   245