Page 103 - สังคมโลก
P. 103

จักรวรรดินิยม 6-63

นอกเหนือตรรกะแหง่ การผลิต แท้จริงแล้วทกุ สิ่งทกุ อยา่ งอยูภ่ ายในตรรกะนัน้ ลักษณาการเชน่ นี้ยิ่งสำ�คญั มากขึน้ ทุกที
เมื่อมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแบบใหม่เข้ามาเป็นตัวกำ�กับการทำ�งานของสภาพจิตใจมนุษย์218

       โครงข่ายกลุ่มชุมชนอันไร้ศูนย์กลางที่ชัดเจนนี้ มีศักยภาพที่จะเข้ามาเป็นตัวต่อกรกับการกดขี่ผู้เสียเปรียบ
ภายใตก้ ระแสทนุ นยิ ม หมายความวา่ แมโ้ ครงขา่ ยกลุม่ ชมุ ชนอนั หลากหลายนีย้ อมรบั และเหน็ ความส�ำ คญั ของกจิ กรรม
มากมายที่เกิดขึ้นมาตั้งแต่ยุคจักรวรดินิยม แต่จะไม่ยินยอมให้มีการผลิตซํ้ากิจกรรม (ในการกดขี่ขูดรีด) เหล่านั้นขึ้น
มาอีก การดำ�รงอยู่และกิจกรรมต่างๆ ของโครงข่ายกลุ่มชุมชน จึงเป็นเรื่องของการก้าวข้ามและขจัดอุปสรรคที่กดทับ
ลงบนพลังแรงงานร่วมแบบใหม่ (new collective labour power) กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า โครงข่ายกลุ่มชุมชน คือ
แกนหลกั ในการรวบรวมประสบการณ์ การประสานความรว่ มมอื เพือ่ ตอ่ ตา้ นศนู ยก์ ลางในการสัง่ การแบบจกั รวรรดนิ ยิ ม
แล้วสถาปนาตรรกะแห่งอำ�นาจแห่งอำ�นาจที่เน้นเรื่องการเชื่อมโยงโครงข่าย

       ฮาร์ดท์และเนกรีสรุปภาพโครงข่ายกลุ่มชุมชนไว้อย่างน่าสนใจว่า โครงข่ายในลักษณะเช่นนี้ มิใช่เป็นแค่เพียง
กลไกต่างๆ ในการผลิตสิ่งที่พวกตนต้องการ (products) แต่ยังสามารถผันตัวโครงข่ายให้กลายเป็นกลไกในการผลิต
กิจกรรมต่างๆ ที่ปรารถนา (activities) เพราะวิถีการผลิตที่ดำ�รงอยู่ในยุคหลังสมัยใหม่ได้รับการบูรณาการให้เป็น
ส่วนหนึ่งของโครงข่ายเช่นนี2้ 19

  กจิ กรรม 6.3.2
         จงอธบิ ายความหมายของจกั รวรรดแิ บบไรศ้ นู ยก์ ลาง ตามทศั นะของไมเคลิ ฮารด์ ทแ์ ละอนั โตนโิ อ เนกรี

  แนวตอบกจิ กรรม 6.3.2
         ไมเคลิ ฮารด์ ท์ และอนั โตนิโอ เนกรี เสนอมุมมองว่า จกั รวรรดแิ บบไรศ้ นู ย์กลางเกดิ ใรยคุ ทสี่ ังคมมกี าร

  เปลย่ี นแปลงความสมั พนั ธท์ างสงั คม รวมถงึ ความสมั พนั ธท์ างการผลติ ทไี่ มไ่ ดเ้ นน้ ระบบการผลติ แบบมศี นู ยก์ ลาง
  คอยควบคุม จักรวรรดิแบบน้ียึดโยงกันด้วยโครงข่ายกลุ่มชุมชนโดยมีเทคโนโลยีการสื่อสารที่ช่วยให้เกิดสิ่งท่ีมี
  ร่วมกัน ผ่านการสร้างภาษาและสัญลักษณ์ท่ียอมรับและใช้ร่วมกัน โครงข่ายเช่นน้ีจะช่วยเสนอทางออกให้กับ
  กลุ่มคนที่เสียเปรียบในโครงสร้างจักรวรรดินิยมแบบเดิม ด้วยการรวมกลุ่มต่อรอง อย่างไรก็ตาม การทำ�งาน
  ของจกั รวรรดแิ บบนเี้ ปน็ ไปแบบคขู่ นานกบั จกั รวรรดนิ ยิ มแบบเดมิ ทย่ี ดึ โยงอำ�นาจเขา้ สศู่ นู ยก์ ลาง หมายความวา่
  ความขดั แยง้ และความรนุ แรงยงั คงด�ำ รง และอาจจะรนุ แรงมากขน้ึ เมอ่ื จกั รวรรดแิ บบใหม่ พยายามเขา้ ไปมบี ทบาท
  ในการก�ำ หนดความเปน็ ไปของตนเอง

	 218 	Antonio Negri. (2008). op, cit., pp. 184-185.
	 219 	Michael Hardt and Antonio Negri. (2000). ibid, pp. 394-400, 403-407, (2008), op, cit., p. 100.

                              ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108