Page 125 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 125

การจ​ ัดการก​ ารผ​ ลิต​บัว​และพ​ รรณไ​ม้​น้ำ 8-65
       1.2 	พฤกษศาสตร​ข์ อง​พรรณ​ไม​น้ ้ำก​ ลุ่ม​พชื โ​ผล​เ่ หนอื ​น้ำ  พืช​โผล่​เหนือ​น้ำ (emerged plants) บางต​ ำราเ​รียก​
พืชค​ รึ่งบ​ กค​ รึ่ง​น้ำ (amphibian plants) เป็น​พรรณไ​ม้​น้ำ​ที่​รากห​ รือล​ ำต้น​ส่วนโ​คน​เจริญอ​ ยู่​ใน​พื้นด​ ินใ​ต้น​ ้ำ ลำต้นส​ ่วน​
บน ใบแ​ ละ​ดอกเ​จริญข​ ึ้น​เหนือ​น้ำ พืชบ​ าง​ชนิดท​ ี่​โคนต​ ้น​มัก​มีเ​นื้อ​เยื่อ​โปร่งๆ สี​ขาวเ​รียก​ว่า aerenchymatous tissuse
ทำ​หน้าที่​สะสม​อากาศ​เพื่อ​ช่วย​การ​หายใจ ด้วย​ลักษณะ​ที่​ใบ​และ​ดอก​โผล่​เหนือ​น้ำ จึง​นิยม​นำ​พรรณ​ไม้​น้ำ​กลุ่ม​นี้​ปลูก​
ประดับ​ใน​สวน​น้ำ ตัวอย่าง​พืช​โผล่​เหนือ​น้ำ เช่น คล้า​น้ำ บัว​หลวง บัว​สาย เป็นต้น แต่​บาง​ชนิด​สามารถ​เจริญ​เติบโต​
ใต้น​ ้ำ​ได้​นาน จึง​นิยม​ปลูกป​ ระดับ​ตู้ป​ ลา เช่น อนูเบียส อ​เม​ซอน เป็นต้น เนื่องจาก​พรรณ​ไม้​น้ำก​ ลุ่ม​พืชโ​ผล่​เหนือน​ ้ำ​ม​ี
ลักษณะ​พฤกษศาสตร์​แตกต​ ่าง​กัน จึงย​ กเ​ป็น​ตัวอย่างด​ ังนี้

            1.2.1 	คลา้ น​ ้ำ (Thalia spp.) เป็นพ​ ืชโ​ผล่เ​หนือน​ ้ำ ลักษณะล​ ำต้น​เป็น​เหง้าใ​ต้ดิน ส่วน​เหนือด​ ิน​เกิด​จาก​
ก้าน​ใบ​ที่แ​ ผ่​เป็นก​ าบ​หุ้ม​ประกบ​กัน​ไว้เ​ป็น 2 แถว แผ่น​ใบแ​ ผ่​เป็น​รูปไ​ข่ ยาว ขนาดใ​หญ่ ดอก​ออกเ​ป็น​ช่อ มีดอ​ กย​ ่อย​
ติด​กับ​ก้าน​ช่อ​ดอก​ที่​แตก​เป็น​แขนง​ย่อย ประกอบด​ ้วย​ดอก​ย่อย​ขนาดไ​ม่​ใหญ่​นัก ดอกย​ ่อย​สี​ม่วง ผล​เดี่ยว แตก​เมื่อ​
แก่​เป็นพ​ ืชท​ ี่​นำเ​ข้าม​ า​จาก​ต่างป​ ระเทศ​มี 2 ชนิด ได้แก่ คล้า​น้ำ​ช่อ​ห้อย​และ​คล้าน​ ้ำ​ช่อ​ตั้ง

                             ภาพ​ท่ี 8.30 ลักษณะท​ าง​พฤกษศาสตรข์​ อง​คล้าน​ ้ำ
            1.2.2 ว่าน​น้ำ (Acorus calamus L.)เป็น​พืช​โผล่​เหนือ​น้ำ ตาม​ริม​น้ำ​หรือ​ตาม​ที่​น้ำ​ขัง ลำต้น​ใต้ดิน​เป็น​
เหง้า​แข็ง มี​ข้อ​ปล้องถ​ ี่ รากแ​ ตก​ยึด​ดินท​ างด​ ้าน​ล่าง ส่วน​ที่​อยู่​เหนือด​ ิน​สูงป​ ระมาณ 80 เซนติเมตร ประกอบ​ด้วยก​ ลุ่ม​
ใบส​ ี​เขียว เรียบแ​ บน ตั้งต​ รง แตก​จาก​ลำต้น​ตรงข​ ้อ ใบ​เรียงก​ ัน​เป็นแ​ ผง ดอก​ออกเ​ป็น​ช่อ​แบบด​ อก​ย่อย อัด​เรียงแ​ น่น​
เป็น​แท่ง​รูป​ทรง​กระบอก (spike) โดย​ช่อ​ดอก​เกิด​ใกล้​โคน​ใบ ผล​เดี่ยว​แบบ​ผล​สด ขนาด​เล็ก เหง้า​ใต้ดิน​ของ​ว่าน​น้ำ
สามารถ​สกัด​น้ำมัน​หอม​ระเหย ที่เ​รียกว​ ่า “oil of calamus” ใช้​เป็น​ส่วนผ​ สมข​ อง​ยาส​ มุนไพร​บาง​อย่าง เพื่อแ​ ก้​ลม​ชัก
ขับล​ ม​และ​ท้องอ​ ืดท​ ้องเ​ฟ้อ

                              ลิขสทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130