Page 192 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 192

13-14 การจัดการการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ

  กจิ กรรม 13.1.3
         1. 	 จงยกตวั อยา่ งไมด้ อกกระถางทีจ่ ัดว่าเป็นเมลด็ ขนาดใหญ่
         2. 	 หากตอ้ งการขยายพนั ธต์ุ ้นบีโกเนยี ควรท�ำ อย่างไร
         3. 	 การแยกหนอ่ หรอื แยกกอมีวิธีการอย่างไร

  แนวตอบกจิ กรรม 13.1.3
         1. 	 ตวั อยา่ งเมลด็ ทมี่ ขี นาดใหญ่ เช่น แพงพวย บานไมร่ ูโ้ รย เทยี นฝรง่ั ทานตะวัน บานชนื่ บานชื่นหนู
         2. 	 บโี กเนยี สามารถขยายพันธไุ์ ดโ้ ดยการปกั ช�ำ แผน่ ใบ
         3. 	 ชุดกอไม้ดอกกระถางที่ต้องการย้ายชิ้นมาจากนั้นใช้มีดคมๆ ผ่าออกโดยให้มีรากและยอดในแต่ละ

  ต้น น�ำ ไปช�ำ ในวัสดุหรอื ปลูกในดินผสม

เร่อื งที่ 13.1.4
วัสดุปลกู และภาชนะปลูก

1. 	วสั ดุส�ำ หรับเพาะเมลด็

       วัสดุที่เหมาะสมสำ�หรับนำ�มาใช้หรือผสมกันเพื่อใช้เพาะเมล็ด ได้แก่
       1.1 	ทรายหยาบ ใชท้ รายหยาบทีใ่ ชใ้ นการกอ่ สรา้ ง กอ่ นใชน้ �ำ ทรายหยาบมารอ่ นเอาเศษกรวดออก ทรายหยาบ
มคี ณุ สมบตั ทิ ีร่ ะบายนํา้ ดี ไมอ่ ุม้ นํา้ ดงั นัน้ จงึ ไมเ่ หมาะทีจ่ ะใชเ้ พาะเมลด็ โดยตรง ควรน�ำ มาผสมกบั วสั ดเุ พาะเมลด็ อืน่ ๆ
เช่น ขุยมะพร้าว ถ่านแกลบ พีทมอส
       1.2 	ขุยมะพร้าว เป็นวัสดุที่ได้จากการนำ�เอากาบมะพร้าวมาตีป่น หลังจากแยกเส้นใยออกแล้วก็จะได้ขุย
มะพรา้ วออกมา ขยุ มะพรา้ วสามารถหาซือ้ ไดจ้ ากรา้ นขายตน้ ไม้ รา้ นขายกระถางหรอื รา้ นขายเคมแี ละอปุ กรณก์ ารเกษตร
ขุยมะพร้าวที่ตีป่นออกมานั้นยังมีเส้นใยปนอยู่ ก่อนนำ�มาเพาะเมล็ดให้นำ�เอาขุยมะพร้าวมาร่อนเอาเส้นใยที่เหลือออก
เสยี กอ่ น ขยุ มะพรา้ วนัน้ มคี ณุ สมบตั อิ ุม้ ความชืน้ ดสี ามารถนำ�มาเพาะเมลด็ หรอื อาจนำ�ขยุ มะพรา้ วมาผสมกบั ทรายหรอื
ถ่านแกลบ
       1.3 	ถ่านแกลบ เป็นวัสดุปลูกที่ได้จากการเผาแกลบ ซึ่งยังไม่ไหม้จนเป็นขี้เถ้า ถ่านแกลบนั้นอุ้มนํ้าดีพอใช้
ระบายนํ้าและระบายอากาศได้ดี สามารถใช้เป็นวัสดุที่ใช้เพาะเมล็ดขนาดใหญ่ หรือใช้ผสมกับทราย หรือขุยมะพร้าว
       1.4 	พีทมอส การปลูกไม้ดอกในต่างประเทศนิยมใช้พีทมอสเป็นวัสดุเพาะและวัสดุปลูกอย่างกว้างขวาง
โดยเฉพาะการเพาะเมล็ด อาจใชพ้ ที มอสล้วนหรอื ผสมกับวัสดุปลกู ชนิดอืน่ ๆ พีทมอสเกิดจากการเนา่ เปือ่ ยผุพงั ทบั ถม
กันเป็นเวลานานหลายร้อยปี พีทมอสจะเกิดตามหนองนํ้าในบริเวณที่มีฝนตกชุก ความชื้นสูง และมีอากาศเย็นใน	
ช่วงฤดูร้อน คุณภาพของพีทมอสจึงขึ้นอยู่กับชนิดของพืชที่เป็นต้นกำ�เนิด และภูมิประเทศ แหล่งกำ�เนิดของพีทมอส	
มักจะอยู่ทางทวีปยุโรป เช่น เยอรมนี ฟินแลนด์ สวีเดน นอร์เวย์ ไอร์แลนด์ และสก็อตแลนด์ พีทมอสที่นิยมนำ�มา

                             ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197