Page 267 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 267

การ​จัดการก​ ารผ​ ลิตไ​ม้ใ​บ​กระถาง 14-41

ฤดู​ฝน ส่วน​บอน​ที่​ปลูก​ใน​กระถาง ควร​นำ​มา​เก็บ​ใน​ที่​ร่ม งด​ให้​น้ำ จนถึง​ฤดู​ฝน​จึง​นำ​ออก​มา​รับ​น้ำ​และ​แสงแดด​รำไร
บอนจ​ ะ​แตก​ใบใ​หม่เ​จริญ​ต่อไ​ป

            5.3.5 การ​ปอ้ งกนั ​กำจดั ศ​ ัตรู​พชื บอน​สีไ​ม่ค​ ่อย​มี​ปัญหาเ​รื่องโ​รคแ​ ละแ​ มลง แต่​หากใ​บ​ถูก​ทำลาย​จาก​โรค​
หรือถ​ ูก​แมลงก​ ัดก​ ิน จะ​ทำให้ข​ าด​ความ​งดงาม และ​อาจล​ ุกลาม​ไป​ยัง​ต้นอ​ ื่น​ได้​ด้วย

                1) โรค​ทีส​่ ำคญั มีด​ ังนี้
                     (1) โรค​รา​เม็ดผ​ ัก​กาด (stem rot) เชื้อ​สาเหตุ Sclerotium rolfsioi Sacc.
                          (1.1) 	ลักษณะอ​ าการ เชื้อ​รา​เข้าท​ ำลายบ​ ริเวณโ​คน​ต้น บริเวณท​ ี่​ถูกท​ ำลายจ​ ะ​เปลี่ยน​

เป็น​สี​เหลืองแ​ ละส​ ีน​ ้ำตาล​ไหม้ต​ าม​ลำดับ ถ้าม​ ี​ความชื้น​สู​งมากๆ จะพ​ บ​เส้นใย​สีข​ าวแ​ ผ่​ปกคลุมโ​คน​ต้น พร้อม​กับม​ ีเ​ม็ด​
ขนาด​เล็ก​กลมๆ สี​ขาว ต่อม​ าเ​ปลี่ยนเ​ป็น​สีเ​หลือง และ​สีน​ ้ำตาลค​ ล้ายเ​มล็ด​ผัก​กาด เรียก ส​ เคลอโ​ร​เทีย (sclerotia) เกิด​
จากก​ ลุ่ม​ของเ​ส้นใย​ของ​เชื้อ​ราอ​ ัด​ตัว​กันแ​ น่นแ​ ล้วส​ ร้างผ​ นัง​มา​ห่อ​หุ้ม​ไว้

                          (1.2) 	การ​แพร่​ระบาด มักแ​ พร่​ระบาดท​ ำความเ​สีย​หายม​ าก​ใน​ช่วงฤ​ ดูฝ​ น หรือ​ช่วงท​ ี่​
มี​ความชื้น​สูง เชื้อ​รา​จะแ​ พร่ก​ ระจายไ​ป​กับ​ลม​และ​น้ำ และ​เม็ด​สเคลอโ​รเ​ทีย​สามารถ​ทนทาน​ต่อ​การท​ ำลาย​ของ​สาร​เคมี​
และม​ ีช​ ีวิต​อยู่​ได้เ​ป็นเ​วลาน​ านใ​นส​ ภาพ​แวดล้อมท​ ี่ไ​ม่​เหมาะส​ ม โดยเ​ชื้อ​สาเหตุ​มัก​อาศัยอ​ ยู่​บริเวณ​ผิวด​ ิน หรือ​ติดไ​ปก​ ับ​
ต้นพ​ ันธุ์ นอกจากน​ ั้น การใ​ช้ส​ ารด​ ูดซ​ ึมก​ ลุ่มเ​บโ​นม​ ิล (Benomyl) ติดต่อก​ ันเ​ป็นเ​วลาน​ านๆ จะเ​ป็นต​ ัวก​ ระตุ้นใ​ห้เ​กิดโ​รค​
ดังก​ ล่าวไ​ด้​ง่าย

                          (1.3) 	การ​ป้องกันก​ ำจัด
                               (1.3.1) 	หากพ​ บว​ า่ เ​ปน็ โ​รค ใหเ​้ กบ็ ร​ วบรวมแ​ ลว้ เ​ผาท​ ำลาย ไมใ​่ หเ​้ ปน็ แ​ หลง่ ส​ ะสม​

ของเ​ชื้อโ​รค
                               (1.3.2) 	ใช้​สาร​ป้องกันก​ ำจัด​โรคพ​ ืช เช่น คาร์บ​ อกซ​ ิล หรืออี​ทริ​ไดอะ​โซล และ​

หากม​ ีก​ าร​ใช้​เบนโ​น​มิล ต้อง​ไม่ใ​ช้​เดี่ยวๆ อาจใ​ช้ร​ ่วม​กับ แคปแ​ ทน​หรือแมน​โค​เซป
                               (1.3.3) 	ต้นพ​ ันธุ์ และ​วัสดุท​ ี่ใ​ช้เ​ป็นเ​ครื่อง​ปลูก ต้องส​ ะอาดป​ ราศจาก​โรค โดย​

เฉพาะเ​ครื่องป​ ลูกไ​ม่​ควร​วางบ​ น​ผิวด​ ินใ​น​ช่วงฤ​ ดูฝ​ น เพราะ​เชื้อ​สาเหตุอ​ าจ​ติดม​ า​กับเ​ครื่อง​ปลูก​ได้
                     (2) โรค​โคนเ​น่า (fusarium foot rot) เชื้อส​ าเหตุ เกิดจ​ ากเ​ชื้อ​ราห​ ลาย​ชนิด ส่วน​ใหญ่เ​กิด​

จากเ​ชื้อ​รา Fusarium oxysporum F. moniliforme
                          (2.1) 	ลักษณะอ​ าการ เชื้อ​รา​จะเ​ข้าท​ ำลายท​ างร​ ากห​ รือท​ างต​ าห​ น่อ​ตรง​โคนต​ ้น ทำให​้

เกิดอ​ าการโ​คนเ​น่า​อย่างช​ ้าๆ ใบ​เหี่ยว ทรุดโ​ทรม และต​ ายใ​น​ที่สุด
                          (2.2) 	การ​ป้องกัน​กำจัด
                               (2.2.1) 	นำ​ส่วน​ที่​เป็น​โรค​พร้อม​เครื่อง​ปลูก​บริเวณ​ที่​เป็น​โรค​ไป​เผา​ทิ้ง​เพื่อ​

ทำลาย​แหล่ง​เพาะ​เชื้อ​โรค
                               (2.2.2) 	ใช้​ปูนข​ าวโ​รย​บริเวณ​หลุม​ดิน​ที่​เป็น​โรค
                               (2.2.3) 	ใช้​สาร​ป้องกัน​กำจัดโ​รค​พืช​กลุ่ม​ค​วิน​โท​ซีน (quintozene) หรือค​วิน​

โทซ​ ีน + อีท​ ริ​ไดอะโชล (quintozene + etridiazole)
                     (3) โรคใ​บ​ไหม้ (leaf blight) ใบจ​ ุด ( leaf spot)
                          (3.1) 	ลักษณะอ​ าการ มักเ​กิด​จากส​ ภาพป​ ลูกม​ ี​ความชื้น​ต่ำ มีแ​ ดด​ส่องม​ าก ประกอบ​

กับไ​ด้ร​ ับ​น้ำไ​ม่เ​พียงพ​ อ ทำให้​ใบ​หยาบก​ ร้าน เกิด​เป็นร​ อยไ​หม้​ขึ้น

                              ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271   272