Page 15 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 15
หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1-13
2. ผู้ซ้ือหรอื ผบู้ ริโภค
ณ จุดข ายม ีส ินค้าห ลาย ๆ ประเภทท ี่ผ ู้ซ ื้อไม่จ ำเป็นต ้องซ ื้อไปบริโภคเสมอไป แต่เป็นการซ ื้อไปอ ุปโภค หรือใช้
ให้เกิดป ระโยชน์ต ่าง ๆ ได้ด ้วย ยกตัวอย่างเช่น ของขวัญในช่วงเทศกาล สินค้าของใช้สำหรับเด็กท ารกห รือสัตว์เลี้ยง
เป็นต้น การออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับสินค้าอุปโภคที่ผู้ซื้อไม่ใช้บริโภคนี้ จำเป็นต้องสร้างสิ่งจูงใจและความมั่นใจ
ต่อผ ู้ซื้อว่า สินค้าดังก ล่าวจะก ่อให้เกิดอรรถประโยชน์หรือประโยชน์ที่ต้องการส ูงสุดต่อผู้ซื้อ ด้วยเหตุน ี้การอ อกแบบ
บรรจุภัณฑ์เหล่านี้จึงมุ่งเน้นที่การสร้างภาพแห่งความพอใจแทนที่จะเน้นเฉพาะเรื่องสมบัติของตัวสินค้าซึ่งเป็น
หลักก ารที่ใช้ในการออกแบบทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ยังต้องหมั่นศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค (consumer behaviur) หรือ
สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการจากสินค้าและบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจมากที่สุดคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายตาม
ปริมาณและค วามหลากหลายของส ินค้าท ี่ม ีให้เลือกต ลอดเวลา
3. ต้นทนุ ท ่ีเหมาะส ม
มองจ ากในแ งธ่ รุ กจิ การผ ลติ ส นิ คา้ เพือ่ ก ารจ ดั จ ำหนา่ ยย อ่ มต อ้ งการส นิ คา้ ท มี่ ตี น้ ทนุ ต ำ่ ส ดุ เทา่ ท จี่ ะต ำ่ ได้ พรอ้ ม
ทั้งข ยายต ลาดใหก้ วา้ งม ากท ีส่ ุดเพื่อใหไ้ ดผ้ ลต อบแทนเปน็ ก ำไรส ูงเท่าท ีจ่ ะท ำได้ มขี อ้ ค วรร ะวังในก ารพ ฒั นาบ รรจภุ ัณฑ์
เกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุที่มีต้นทุนต่ำเพียงอย่างเดียวที่อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายให้แก่บรรจุภัณฑ์และสินค้า
ที่บรรจุอยู่ได้ง่าย เพราะทำให้บรรจุภัณฑ์ไม่สามารถทำหน้าที่อย่างสมบูรณ์ ด้วยเหตุนี้จึงต้องคิดถึงผลกระทบของ
ค่าใช้จ ่ายที่อ าจจะเกิดข ึ้นต ลอดทั้งร ะบบ (total system cost)
การอ อกแบบพ ัฒนาร ะบบบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่ต ้องการ คือ ให้ส ามารถป ้องกันอันตรายในร ะดับเฉลี่ยได้แ ละย อมให้
เกิดค วามเสียห ายบ ้างจ ากอ ุบัติเหตุท ีอ่ าจเกิดข ึ้น เนื่องจากค วามไม่ค ุ้มท ุนในก ารป ้องกันค วามเสียห ายท ีเ่กิดข ึ้นท ั้งหมด
ในทางตรงกันข้าม การขนส่งสินค้าใด ๆ ที่ไม่ประสบความเสียหายเลยในช่วงระยะเวลาเป็นเดือน ๆ กลับเป็นสิ่งที่
ไม่พ ึงประสงค์ในเชิงธ ุรกิจ เนื่องจากเป็นการแสดงว่าบ รรจุภัณฑ์มีร ะดับการป ้องกันที่มากเกินไป (over packaging)
ความเสียหายหรืออันตรายอันอาจเกิดขึ้นในระหว่างการขนส่งเมื่อเปรียบเทียบกับต้นทุน อธิบายได้ตามที่
แสดงในภาพท ี่ 1.4 ดังนี้
ณ จุด A แสดงถ ึงก ารใช้บรรจุภ ัณฑ์ท ี่ไม่มีคุณภาพเพียงพอแ ละม ีโอกาสเกิดความเสียห ายส ูง
ณ จุด B แสดงถึงการการใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถลดความเสียหายได้บ้าง โดยหากเพียงเพิ่มต้นทุน
บรรจุภัณฑ์ให้ส ูงข ึ้นสักนิดในระดับจำนวน (ข) บาท ก็จ ะส ามารถล ดอัตราค วามเสียห ายได้ในระดับ (ก)
ณ จุด C แสดงถ ึงการการใช้บรรจุภ ัณฑ์ที่สามารถล ดความเสียหายได้มากจนเกือบเป็นศูนย์ ถ้าต้องการท ี่
จะลดอัตราความเสียหายให้น้อยลงไปอีกจากระดับที่ลดลงมาแล้ว โดยลดลงอีกเท่าหนึ่ง คือ เท่ากับ (ก) จะพบว่า
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเพื่อลดความเสียหายเข้าใกล้เกือบเป็นศูนย์นั้น ณ จุด C จะเพิ่มมากขึ้นอีก (ค) บาท ซึ่งหาก
เปรียบเทียบต ้นทุนก ันแ ล้ว ต้นทุนบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่จ ่ายเพิ่มข ึ้นอ าจแ พงม ากกว่าค วามเสียห ายท ี่ล ดล งไปม ากห ลายเท่าต ัว
ด้วยเหตุนี้ บรรจุภัณฑ์ ณ จุด B จึงเป็นจุดที่คุ้มทุนต่อการลงทุนบรรจุภัณฑ์ โดยมีการยอมรับโอกาสเกิด
ความเสียหายบ ้าง
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช