Page 13 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 13
หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์ 1-11
เร่ืองที่ 1.1.2
ความห มายข องบ รรจภุ ัณฑ์
คำว่า “บรรจุภัณฑ์” ได้รับการกล่าวอ้างถึงอย่างกว้าง ๆ แต่มักจะมีการใช้ศัพท์คำว่า “ภาชนะบรรจุ” กับ
“บรรจุภัณฑ์” อย่างสับสน คำถามมีอยู่ว่า “ภาชนะบรรจุ” กับ “บรรจุภัณฑ์” นั้นแตกต่างกันอย่างไร ในที่นี้ขอ
ยกตัวอย่างเปรียบเทียบระหว่าง “ภาชนะบรรจุ” กับ “บรรจุภัณฑ”์ 2 ตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างท่ี 1 ลองพิจารณาบรรจุภัณฑ์น้ำปลา การซื้อน้ำปลามาขวดหนึ่งจากร้านขายของชำ ตัวขวดนั้นย่อม
เป็นบรรจุภัณฑ์ แต่เมื่อน ำม าถ ึงบ้าน เวลาบริโภค จะเทน้ำปลาใส่ถ้วยเล็ก ๆ ตามส ัดส่วนท ี่ต ้องการบริโภค ถ้วยเล็ก ๆ
ดังกล่าวนี้กลายมาเป็นภาชนะบรรจุ ในกรณีของครอบครัวใหญ่ อาจซื้อน้ำปลาเป็นขวดใหญ่ที่เรียกว่าขวดลิตร
แ ล้วน ำม ากร อกแ บ่งใสข่ วดเล็กท ีบ่ ้าน แม้ว่าน ้ำปลาจ ะใสใ่นข วดเหมือนก ัน แตข่ วดใหญท่ ีซ่ ื้อม าจ ากร ้านค ้าน ั้นจ ะถ ือเป็น
บรรจุภัณฑ์ ส่วนขวดเล็กที่ก รอกใส่ที่บ้านน ั้นจ ัดเป็นภ าชนะบรรจุ เพราะไม่ได้ท ำหน้าที่เอื้ออำนวยความส ะดวกในก าร
ขนย้ายและไม่ได้มีบ ทบาทการส ่งเสริมการจ ำหน่ายเมื่อวางข ายบนชั้นวาง ณ จุดขาย
ตัวอย่างท ี่ 2 การรับป ระทานอ าหารต ามร้านน อกบ้าน จาน ชาม หรือถ าดที่ใส่อ าหารม าบร ิการท ี่โต๊ะนั้น ถือว่า
เป็นภาชนะบรรจุ แต่เมื่อไรก็ตามถ้าภาชนะบรรจุนั้น ๆ ใส่อาหารแล้วมีการปิดผนึกและนำส่งไปที่อื่น เช่น นำไป
รับประทานที่บ้าน หรือบนรถ ภาชนะบรรจุนั้น ๆ จะกลายมาเป็นบรรจุภัณฑ์ แม้ว่าบรรจุภัณฑ์ที่ว่านี้จะมีหรือไม่มี
การพิมพ์ยี่ห้อหรือฉ ลากก็ตาม
จากส องตัวอย่างข้างต ้นน ั้น จะเห็นได้ว ่าการที่ภาชนะบรรจุก ลายม าเป็นบรรจุภัณฑ์นั้น จะต้องมีบ ทบาทแ ละ
หน้าที่เฉพาะอ ื่น ๆ บางประการ นอกเหนือจ ากบทบาทหน้าที่หลักในก ารบรรจุใส่ผ ลิตภัณฑ์
นอกเหนือจากศัพท์คำว่า “ภาชนะบรรจุ” และ “บรรจุภัณฑ์” ในภาษาไทยแล้ว ศัพท์ภาษาอังกฤษคำว่า
“packing” และ “packaging” อาจจะก ่อให้เกิดค วามส ับสนได้เช่นกัน โดยปกติคำว่า packing มีค วามหมายใกล้
เคียงกับการบรรจุหีบห่อ กล่าวคือ packing สื่อความหมายถึงการบรรจุและห่อเพื่อการขนส่ง ในขณะที่ศัพท์คำว่า
packaging มีความหมายกว้างกว่า และตรงกับศัพท์คำว่า “บรรจุภัณฑ์” ในภาษาไทย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า
packing นับเป็นส่วนห นึ่งข อง packaging นั่นเอง
เพื่อความเข้าใจความหมายของบรรจุภัณฑ์ได้แจ่มชัดขึ้น ในตารางที่ 1.2 ต่อไปนี้ได้แสดงคำนิยามของ
บรรจภุ ณั ฑท์ รี่ วบรวมจ ากห ลายป ระเทศ ทัง้ ย งั ส ามารถส ะทอ้ นถ งึ บ ทบาทข องบ รรจภุ ณั ฑท์ แี่ ตล่ ะป ระเทศใหค้ วามส ำคญั
ทั้งในประเด็นที่เหมือนกันแ ละต ่างกัน
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช