Page 24 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 24

1-22 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

       นอกจากบ​ รรจภ​ุ ณั ฑอ​์ ะลมู เิ นยี มส​ ามารถป​ ระหยดั พ​ ลงั งานจ​ ากก​ ารนำก​ ลบั ม​ าแ​ ปรใ​ชใ​้ หมห่ รอื รไี ซเคลิ (recycle) ​
แล้ว ยังน​ ับไ​ด้ว​ ่าก​ ระป๋อง​อะลูมิเนียม​เป็น​ตัวอย่าง​ของก​ ารนำ​กลับม​ าร​ ีไซเคิล​ที่ค​ ุ้มค​ ่าม​ าก​ที่สุด เมื่อพ​ ิจารณา​จาก​น้ำห​ นัก
​ของ​ซาก​กระป๋อง​อะลูมิเนียม​ที่​พบ​ใน​ระบบ​เก็บ​ขยะ​ตาม​ขอบ​ถนน (curbside/kerbside collection) ซึ่ง​มี​เพียง
​ร้อย​ละ 2 ของ​น้ำ​หนัก​ขยะ​มูลฝอย​ทั้งหมด แต่​เมื่อ​คิด​เป็น​มูลค่า​ต่อ​น้ำ​หนัก​  ปรากฏ​ว่า​อะลูมิเนียม​มี​มูลค่า​ต่อ​หน่วย​
น้ำ​หนัก​มากถ​ ึง​ร้อยล​ ะ 33 รอง​จากก​ ระดาษ

กระดาษ  อะลูมิเนียม                    เห8%ล็ก กร3ะ5ด%าษ           2แ0ก%้ว  เ1ห2ล%็ก อะล3ูม3ิเ%นียม
 65%       2%                                    3แ5ก%้ว

	 ก. น้ำหนักซากบรรจุภัณฑ์ที่เก็บกลับ (%)	                 ข. มูลค่าต่อหน่วยน้ำหนักที่ได้ (%)

   ภาพท​ ี่ 1.10 เปรยี บเ​ทียบน​ ้ำห​ นัก​ของซ​ ากบ​ รรจ​ุภัณฑ์ท​ ี่​เกบ็ ก​ ลับจ​ ากแ​ หล่งร​ วบรวมใ​น​ชุมชน​กับม​ ูลคา่ ​ต่อ​หน่วยน​ ำ้ ห​ นกั

ทีม่ า: ปุ่น คง​เจริญ​เกียรติ และส​ มพ​ ร คงเ​จริญ​เกียรติ บรรจุภ​ ัณฑ์​โลหะ 2551 หน้า 621

       อีกต​ ัวอย่างห​ นึ่งข​ องก​ ารร​ ณรงค์ใ​ช้บ​ รรจุภ​ ัณฑ์เ​พื่อร​ ักษาส​ ิ่งแ​ วดล้อม คือ การใ​ช้ส​ ารข​ ับด​ ัน (propellant) ซึ่งท​ ำ​
หน้าทีข่​ บั ด​ นั ใ​หส้​ ินคา้ อ​ อกจ​ ากก​ ระป​ อ๋ ง​ สเ​ปรย์ สารข​ ับด​ ันจ​ ำพ​ วกฟ​ ลอู​ อโ​รค​ ารบ์ อน (fluorocarbon) ทีม​่ ปี​ ระวตั กิ ารใ​ชง้​ าน​
ยาวนานย​ ้อนห​ ลังไ​ปร​ ่วม 70 ปี โดย​เริ่ม​ใช้​ในอ​ ุตสาหกรรมต​ ู้​เย็น มี​สมบัติเ​ด่น​ที่​ไม่มี​กลิ่น ไม่​ติดไฟ (nonflammable)
พร้อมท​ ั้งม​ ี​ราคา​ต่ำ ทำให้​นิ​ยมใ​ช้​ฟลู​ออโ​ร​คาร์บอนส​ ูงม​ าก​ในช​ ่วงห​ ลังส​ งครามโลกค​ รั้ง​ที่ 2 ต่อมาใน พ.ศ. 2517 (ค.ศ.
1974) มี​การ​ค้นพ​ บ​ว่า​สารค​ ลอ​โร​ฟลู​ออโ​รค​ าร์บอน (chlorofluorocarbon) หรือ​สารซ​ ี​เอฟซ​ ี (CFC) ทำลายบ​ รรยากาศ​
ใน​ชั้น​โอโซน โดยก่อ​ให้​เกิด​รู​รั่ว​ใน​ชั้น​โอโซน องค์กร​ระหว่าง​ประเทศ​ต่าง ๆ จึง​ได้​ร่วม​กัน​รณรงค์​ต่อ​ต้าน​การ​ใช้​สาร​
ซี​เอฟซ​ ี จนก​ ระทั่งใ​นว​ งการบ​ รรจุ​ภัณฑ์ก​ ็ได้​เลิกใ​ช้​ไป​ใน​ที่สุด

       ภายใ​ตก​้ ระแสร​ กั ษส​์ ิง่ แ​ วดลอ้ ม ขอ้ มลู ท​ พี​่ มิ พบ​์ นบ​ รรจภ​ุ ณั ฑน​์ อกจากเ​หนอื จ​ ากก​ ารเ​ชญิ ช​ วนใ​หซ​้ ือ้ ส​ นิ คา้ อธบิ าย​
สรรพคณุ แ​ ละป​ ระโยชนท​์ จี​่ ะไ​ดร​้ บั จ​ ากส​ นิ คา้ ท​ ซี​่ ือ้ แ​ ลว้ ขอ้ มลู บ​ นบ​ รรจภ​ุ ณั ฑย​์ งั ต​ อ้ งบ​ อกถ​ งึ ผ​ ลกร​ ะท​ บต​ อ่ ส​ ิง่ แ​ วดลอ้ มด​ ว้ ย​
ว่า​มีน​ ้อยเ​พียง​ใด​หรือเ​ท่ากับ​บอก​ระดับ​ความ​เป็น​มิตร​ต่อ​สิ่งแ​ วดล้อม โดย​ใช้​ค่าที่​ระบุเ​ป็นต​ ัวเลข มีชื่อ​เรียกว​ ่า carbon
footprint เรียกย​ ่อ ๆ ว่า CFP โดยฉ​ ลากค​ าร์บอนฟ​ ุตพ​ ริ้นต์จ​ ัดว​ ่าเ​ป็นฉ​ ลากค​ าร์บอนแ​ บบห​ นึ่ง ข้อมูลบ​ นฉ​ ลากค​ าร์บอน​
ฟุต​พริ้นต์​แสดงใ​ห้ท​ ราบ​ว่า​ตลอดว​ ัฏจักร​ชีวิต​ของผ​ ลิตภัณฑ์​ช่วย​ลด​ปริมาณ​การป​ ล่อย​ก๊าซ​เรือน​กระจก (greenhouse
gas: GHG) ซึ่งมีหลายชนิด โดยนำเสนอใน​รูป​ของ​ก๊าซ​คาร์บอนไดออกไซด์​เทียบ​เท่า​ว่าปล่อยออกมาได้​มาก​เท่าใด ​
ในภ​ าพท​ ี่ 1.11 แสดงฉ​ ลากค​ ารบ์ อนท​ ร​ี่ ะบค​ุ วามส​ ามารถใ​นก​ ารล​ ดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกหรอื กา๊ ซค​ ารบ์ อนไดออกไซด​์
เทียบเ​ท่าลง 5 ระดับ ตั้งแต่​ระดับท​ ี่ 1 สามารถ​ลดล​ ง ร้อยล​ ะ 10 ถึงร​ ะดับท​ ี่ 5 ซึ่งส​ ามารถ​ลด​ลงถ​ ึง ร้อยล​ ะ 50 ภายใน​
ช่วง​ระยะ​เวลา​ที่​กำหนด

                     ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29