Page 100 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 100

5-90 การเมืองการปกครองไทย

       2.3 	การ​ต่อ​ต้าน​กระบวนการ​ปฏิรูป​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง โดย​เฉพาะ​
อย่างย​ ิ่ง จากก​ ลุ่ม​ชนชั้นน​ ำ�ทางก​ ารเมือง และก​ ลุ่ม “ไตร​อัปลักษณ์ท​ างการ​เมือง” ที่​สูญเ​สียป​ ระโยชน์จ​ ากก​ าร​
ถูกต​ รวจ​สอบแ​ ละด​ ำ�เนิน​การเ​อาผิดต​ าม​กฎหมาย

       ภายห​ ลังจ​ ากก​ ารป​ ฏิรูปก​ ารเมือง เพื่อป​ ้องกันแ​ ละแ​ ก้ไขป​ ัญหาก​ ารซ​ ื้อเ​สียงเ​ลือกต​ ั้งแ​ ละก​ ารค​ อรัปช​ ัน
เพื่อ “ถอนทุน” ของ​นักการ​เมือง ภาย​ใต้​รัฐธรรมนูญ​แห่ง​ราช​อาณาจักร​ไทย พุทธศักราช 2540 เป็นต้น​
มา นักการ​เมือง​ที่​ผูกขาด​อำ�นาจ​ทางการ​เมือง​ต่อ​เนื่อง​มา​ยาวนาน​ได้​ถูก​ตรวจ​สอบ​และ​ลงโทษ​ตาม​กฎหมาย​
หลาย​คน บางค​ น​ได้​ตก​เป็น​จำ�เลยแ​ ละ​ศาล​พิพากษา​ให้​ต้อง​รับ​โทษจำ�​คุก พรรคการเมืองส​ ำ�คัญ​ของ​กลุ่มท​ ุน​
หลายพ​ รรคต​ ้อง​ถูก​ยุบเ​ลิก คือ ไทยรักไทย พลังป​ ระชาชน ชาติไ​ทย และม​ ัชฌิมาธ​ ิปไ​ตย และม​ ีน​ ักการเ​มือง​
อย่าง​น้อย 200 คน ที่​ถูกต​ ัด​สิทธิ์​ทางการ​เมืองเ​ป็นเ​วลา 5 ปี ปรากฏการณ์ส​ ำ�คัญป​ ระการ​หนึ่ง​ที่​เกิด​ขึ้น​ก็ค​ ือ
นกั การเ​มอื งเ​หลา่ น​ ไี​้ ดเ​้ กดิ ป​ ฏกิ ริ ยิ าร​ ว่ มค​ อื การไ​มย​่ อมรบั ก​ ารบ​ งั คบั ใ​ชก​้ ฎหมายแ​ ละต​ อ่ ต​ า้ นบ​ ทบ​ ญั ญตั ส​ิ �ำ คญั ๆ
ใน​รัฐธรรมนูญ รวม​ไป​ถึง​การก​ล่า​วหา​ตุลาการ​หรือ​ศาล​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​พิพากษา​คดี​เหล่า​นั้น​ว่า “ไม่มี​
ความ​เป็นธ​ รรม​และไ​ม่ย​ ุติธรรม” พร้อม​กับก​ าร “ส่ง​สัญญาณ” หรือ​สื่อสารท​ างการเ​มืองไ​ป​ยังก​ ลุ่มค​ นร​ ะดับ
“ราก​หญ้า” ใน​ชนบท​ที่ม​ ี​ค่า​นิยมเ​ชื่อ​มั่น เคารพร​ ักใ​น​ตัว​บุคคล หรือ​ผู้นำ�​ทางการ​เมือง​ที่ม​ ี​บารมี​สูง อยู่​เสมอว​ ่า
“ฝ่ายต​ รงข​ ้าม​ใส่ร​ ้าย” เพราะ “ฝ่ายต​ น​ทำ�​อะไร​ก็​ผิด​หมด” แต่ฝ​ ่ายต​ รง​ข้าม​ไม่เ​คย​ทำ�​อะไร​ผิด

       การต​ อ่ ต​ า้ นใ​นล​ กั ษณะด​ งั ก​ ลา่ วน​ ี้ คอ่ นข​ า้ งม​ พ​ี ลงั ม​ ากพ​ อส​ มควร เพราะน​ อกจากโ​ครงสรา้ ง และส​ ถาบนั ​
ทางการเ​มืองท​ ี่ม​ ีอ​ ยู่ค​ ่อนข​ ้างด​ ้อยพ​ ลังด​ ังก​ ล่าวม​ าแ​ ล้ว คนช​ นบทท​ ี่ม​ ีค​ ่าน​ ิยมรักน​ ักการเ​มืองท​ ี่ใ​ห้ป​ ระโยชน์เ​ป็น​
รูป​ธรรม​กับ​พวก​เขา​อย่าง​มาก​จาก “นโยบาย​ประชา​นิยม” ที่​ชัดเจน​แรก​สุด​ใน​ช่วง พ.ศ. 2544–2549 ก็​เกิด
ก​ ารต​ ื่น​ตัว​เห็น​คล้อยต​ ามแ​ ละ​ออกม​ าแ​ สดง​พลัง​สนับสนุนก​ าร​ต่อ​ต้าน​ดังก​ ล่าว​ด้วย

       กระบวนการ​ของ​ขบวนการ​ต่อ​ต้าน​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ดัง​กล่าว​นี้
โน้ม​เอียง​จะ​มี​อยู่​ต่อ​ไป ถ้า​ตราบ​ใด​ที่​การ​ปฏิรูป​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ไม่​สามารถ​
สร้างพ​ ลัง​ของ “หลักน​ ิติธรรม” ให้เ​ป็น​รูป​ธรรม และ​เกิด​ทิศทางท​ ี่ช​ ัดเจน​ของแ​ นวทางก​ าร​ปฏิรูปว​ ่าเ​ป็น​ความ​
หวัง​ของค​ น​ส่วน​ใหญ่​ใน​สังคม​ได้

             หลังจ​ าก​ศึกษาเ​นื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 5.3.2 แล้ว โปรดป​ ฏิบัติ​กิจกรรม 5.3.2
                      ในแ​ นว​การ​ศึกษา​หน่วยท​ ี่ 5 ตอน​ที่ 5.3 เรื่อง​ที่ 5.3.2
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104