Page 97 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 97
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-87
เรอ่ื งท ่ี 5.3.2 ผลกร ะท บจ ากป ัญหาด ้านโครงสรา้ ง และสถาบนั
ทางการเมอื งการป กครองข องไ ทย
ผลกระทบ (impact) หรือสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากได้มีการจัดทำ�โครงสร้าง และสถาบันทาง
การเมืองการปกครองขึ้นมาในแต่ละครั้ง และ/หรือได้เกิดการล้มเลิกโครงสร้าง และสถาบันทางการเมือง
การป กครองเดิม แล้วจ ัดท ำ�โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองขึ้นใหม่หลายค รั้ง จนก่อให้เกิด
ปัญหาต่างๆ มากมายและค่อนข้างซับซ้อนดังที่ได้กล่าวมาแล้วในเรื่อง 5.3.1 นั้น สามารถมองได้หลายมิติ
คือ ในด ้านบ วก (positive) และด ้านล บ (negative) ในร ะยะส ั้น (short time period) หรือร ะยะย าว (long
time period) และผ ลกระทบต ่อส ่วนใดห รือบ ริเวณใดบ ้าง เป็นผ ลกระท บมากหรือลึกซึ้ง (deep impact)
หรือเพียงเล็กน ้อย (light impact) ในเรื่องท ี่ 5.3.2 จะแยกพ ิจารณาผลกร ะท บออกเป็น 2 ด้าน กว้างๆ คือ
ในแง่บวก กับแง่ลบ ดังนี้
1. ผลกระทบในแงบ่ วก
แยกอ อกได้ดังนี้
1.1 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองก ารปกครองที่เกิดข ึ้นแ ต่ละค รั้ง โน้มเอียง
จะมีลักษณะซับซ้อนและหลากหลายมากขึ้น นอกเหนือจากจะมีความเป็นสมัยใหม่ตามแบบอย่างของนานา
อารยประเทศท ั้งหลาย
ตั้งแต่ยุคปฏิรูปการเมือง ภายหลังเหตุการณ์รุนแรงทางการเมือง 17–20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
เป็นต้นมา ได้เกิดการพัฒนาระบบการเมืองไปจากที่ผ่านๆ มาอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือการจัดทำ�
โครงสรา้ งและส ถาบนั ท างการเมอื งใหมๆ่ ทแี่ ตกต า่ งไปจ ากเดมิ ห ลายอ ยา่ งทสี่ �ำ คญั ก ค็ อื การเกดิ อ งคก์ รอ สิ ระข นึ้
มาต รวจส อบก ระบวนการท างการเมอื งในเกือบท กุ ข ัน้ ต อน ตั้งแตก่ ระบวนการเลอื กต ัง้ กระบวนการต รวจส อบ
การใช้อำ�นาจของผู้มีตำ�แหน่งสาธารณะ กระบวนการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของผู้มีอรรถคดี
ต่างๆ ที่เป็นคดีท างการปกครอง และคดีทางการเมือง
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองที่มีความซับซ้อนและหลากหลายขึ้นดังกล่าวมานี้
เกิดข ึ้นจ ากค วามต ้องการข องฝ ่ายป ฏิรูปท ีจ่ ะแ ก้ไขป ัญหาต ่างๆ ทีเ่ป็นม าก ่อนห น้าน ี้ และไดส้ ร้างค วามค าดห วัง
ให้ก ับฝ ่ายต ้องการปฏิรูปการเมืองไว้ค่อนข ้างม าก
1.2 การเกิดกระบวนการเรียนรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจทางการเมือง และเริ่มเข้าใจภาพ
ปัญหาต ่างๆ ทีเ่กี่ยวก ับโครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองก ารป กครองม ากข ึ้น เพราะป ัญหาเชิงโครงสร้างน ับ
เป็นปัญหาร ะดับม หภาค (macro) และมีร ายละเอียดต ่างๆ เกี่ยวข้องมาก (micro) การจะแ ก้ไขป ัญหาต่างๆ
จำ�เป็นต้องสร้างกลไกท ี่ม ีพลังม ากเพียงพ อและเหมาะสม และอาจต ้องใช้เวลาในการแ ก้ไขปัญหายาวนานพอ
สมควร