Page 98 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 98
5-88 การเมืองการปกครองไทย
ในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปอย่างขนานใหญ่
ตั้งแต่ก ารตัดแต่งพันธุกรรม หรือ จีเอ็มโอ (Genetic Modified Organism) การโคลนนิ่ง (cloning) หรือ
สร้างสายพันธุกรรมสิ่งมีชีวิตขึ้นมาจากเซลล์เดิม เทคโนโลยีชีวภาพอื่นๆ การปลูกถ่ายอวัยวะมนุษย์ หรือ
แม้แต่เทคโนโลยีน าโน (Nano Technology) เทคโนโลยีด ้านอ วกาศ เทคโนโลยีก ารส ื่อสาร และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และห ุ่นยนต์ วิถีช ีวิตข องมนุษย์ในส ังคมต่างๆ รวมท ั้งสังคมไทยก็ได้เปลี่ยนแปลงไปในห ลายๆ
ด้าน และมีผลกระทบมาสู่การทำ�งานของโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองต่างๆ ด้วย รวมทั้งก่อให้เกิด
ปัญหาโดยตรงขึ้นภายในโครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองที่ม ีอ ยู่เดิม
การพ ยายามป รบั เปลีย่ นโครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งใหท้ นั ส มัยม ากย ิง่ ข ึน้ ตั้งแตก่ ารป ระกาศ
ใช้ร ัฐธรรมนูญแห่งร าชอ าณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และก ลไกต่างๆ ของร ัฐธรรมนูญฉบับน ี้ได้ท ำ�หน้าที่
อยู่ในช่วงสั้นๆ ราว 9 ปี ก็ทำ�ให้สามารถมองเห็นส ภาพป ัญหาได้ในลักษณะหนึ่งว ่า กลไกท างการเมืองต ่างๆ
ที่เกิดจากบ ทบัญญัติข องร ัฐธรรมนูญฉบับนี้ ยังอ่อนแอและไม่มีความเหมาะสมเพียงพ อต่อก ารป ้องกันและ
แก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองต่างๆ และยิ่งกลุ่มทุนและนักธุรกิจ
ที่สามารถใช้เงินทุนจำ�นวนมากสร้างระบบการผูกขาดตลาดคะแนนเสียงเลือกตั้งในตลาดทางการเมือง
(political markets) ได้ โดยกลไกการต รวจสอบ คือ คณะก รรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ยังไม่มีค วาม
พร้อมมากเพียงพอทั้งในด้านวิสัยทัศน์และกลไกด้านองค์กร รวมทั้งการขาดพลังสนับสนุนจากภาคสังคม
และก ลุ่มท ุนท ี่ได้ ส.ส. จำ�นวนม ากก ็ได้ใช้อ ำ�นาจบ ิดเบือนด ้วยก ารแ ทรกแซงแ ละส ร้างอ ิทธิพลเข้าส ู่ก ลไกแ ละ
สถาบนั ท างการต า่ งๆ รวมท ัง้ ในอ งคก์ รอ สิ ระแ ละห นว่ ยง านร าชการต า่ งๆ อยา่ งก วา้ งข วางแ ละท �ำ อยตู่ อ่ เนือ่ งร าว
5–6 ปี พร้อมทั้งประกาศจ ะอ ยู่ในอำ�นาจท างการเมืองต่อเนื่องไปอ ีกถ ึง 20 ปี ข้างห น้า กลไกก ารตรวจส อบทั้ง
หลายภายใต้รัฐธรรมนูญฉ บับด ังก ล่าวน ี้จึงอ ่อนก ำ�ลังล ง เพราะไม่ส ามารถจะบังคับใช้ก ฎหมายและร ะเบียบ
ต่างๆ ซึง่ เป็น “หลักน ิตธิ รรม” หรอื พ ลังส �ำ คญั ข องโครงสร้าง และส ถาบนั ท างการเมืองต ่างๆ ไดเ้ ลย ผลส ดุ ทา้ ย
พลังม วลชนท ี่ต่อต ้าน “ระบอบท ักษิณ” จึงต ้องหันไปพ ึ่งแนวทางจ ารีตประเพณี คือ การกล ่างอ้างถึงส ถาบัน
พระม หาก ษัตริย์ จนเกิดแรงก ดดันให้ผู้นำ�ทหารบ างกลุ่มต้องใช้กำ�ลังท หารท ำ�การร ัฐประหาร
กระบวนการเรียนรู้ในเรื่องเหล่านี้ของคนในสังคมไทยยังได้พบและเข้าใจมากขึ้นอีกว่า โครงสร้าง
และสถาบันทางการเมืองตามรูปแบบของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่นำ�มาใช้
อีกภ ายใต้ร ัฐธรรมนูญแห่งร าชอ าณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็ย ังไม่เข้มแ ข็งม ากเพียงพ อ ต่อการเอาชนะ
การบ ิดเบือนอำ�นาจของก ลุ่ม “ไตรอ ัปลักษณ์ทางการเมือง” ที่เข้าไปม ีอ ำ�นาจแ ละอ ิทธิพลอ ยู่ภ ายในโครงสร้าง
และส ถาบันท างการเมืองหลายๆ ส่วนได้
1.3 กลุ่มคนที่เรียนรู้และเข้าใจสภาพปัญหาการเมืองไทยยังคงสนับสนุนแนวทางการปฏิรูปทาง
การเมือง และแนวทางการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองให้มีความสามารถ
ในการทำ�งานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างชัดเจนมากกว่าเดิม หรือลดปัญหาหรืออุปสรรค
ต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เพราะทางออกดังกล่าวนี้ถือเป็นทางออกเดียวที่ดีที่สุดและเป็นไปได้มากที่สุดต่อการ
ปฏิรูปการเมืองตามแนวทางประชาธิปไตยที่จะนำ�พาสังคมได้เกิดระบบระเบียบและมีความสุขได้อย่าง
ยั่งยืนหมายความว่า การเกิดโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองที่สร้างพลังอำ�นาจของ “หลักนิติธรรม”