Page 93 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 93

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-83

ระบบเ​ศรษฐกิจ​ทุนนิยม ภาคเ​อกชนจ​ ะม​ ีบ​ ทบาทม​ ากท​ ี่สุด โดยม​ ี “ผลก​ ำ�ไร” เป็นเ​ครื่องจ​ ูงใจใ​นก​ ารล​ งทุน การ​
ประกอบ​การธ​ ุรกิจต​ ่างๆ จึง​มุ่ง​ไป​เพื่อ​แสวงหาก​ ำ�ไรเ​ป็น​สำ�คัญ

       ใน​ยุค​ก่อน พ.ศ. 2475 ระบบ​เศรษฐกิจ​สยาม​หรือ​ไทย​เป็น​เศรษฐกิจ​โดย​รัฐ หรือ​ภาค​รัฐ​เป็น​ฝ่าย​
ลงทุน​ทาง​เศรษฐกิจ​เป็น​หลัก เอกชน​ส่วน​ใหญ่​เป็น​ทุน​ของ​ต่าง​ประเทศ​ที่​เข้า​มา​ประกอบ​กิจการ​ภาย​หลัง
“สัญญา​เบา​ว์ร​ ิง พ.ศ. 2398” กลุ่มช​ าว​จีน​ที่ก​ ลาย​เป็นกล​ ุ่มท​ ุน​สำ�คัญข​ อง​สังคมไ​ทย​ในภ​ าย​หลัง ก็ย​ ัง​อยู่​ในข​ ั้น​
ของก​ ารแ​ สวงหาแ​ ละส​ ะสมท​ นุ โ​ดยก​ ารพ​ ึ่งพาร​ ฐั หรือก​ ลุ่มช​ นชั้นผ​ ปู้​ กครองเ​ป็นห​ ลัก ระบบเ​ศรษฐกจิ ใ​นล​ ักษณะ​
ดัง​กล่าว​นี้ จึง​เอื้อ​ให้ช​ นชั้นผ​ ู้ป​ กครองส​ ามารถ​ผูกขาดร​ ะบบเ​ศรษฐกิจไ​ด้​มาก และ​เอื้อต​ ่อ​การร​ วมศ​ ูนย์​อำ�นาจ​
ไป​พร้อมๆ กัน

       ใน​ยุค​หลัง​เปลี่ยนแปลง​การ​ปกครอง พ.ศ. 2475 ระบบ​เศรษฐกิจ​ไทย​มี​ลักษณะ​เป็น​ทุนนิยม​โดย​
รัฐ​ผสม​ผสาน​กับ​ระบบ​เศรษฐกิจ​สังคมนิยม เมื่อ​เริ่ม​มี​การ​จัด​ตั้ง​รัฐวิสาหกิจ​ขึ้น​เป็น​จำ�นวน​มาก และ​ชนชั้น​
นำ�ทางก​ ารเมืองไ​ดเ้​ข้าไปม​ ีต​ ำ�แหน่งแ​ ละผ​ ลป​ ระโยชน์อ​ ยูใ่​นร​ ัฐวิสาหกิจต​ ่างๆ พร้อมๆ​ไปก​ ับก​ ารร​ ่วมล​ งทุนแ​ ละ​
การ​ใช้​อิทธิพล​ทางการ​เมือง​คุ้มครอง “กลุ่ม​ทุน​ชาว​จีน” ที่​เริ่ม​มี​ความ​เข้ม​แข็ง​ทาง​เศรษฐกิจ​มาก​ขึ้น เพื่อ​การ​
แลกเ​ปลี่ยนผ​ ลป​ ระโยชน์​ระหว่าง​กัน

       ตั้งแต่​ยุค​พัฒนา​อุตสาหกรรม โดย​รัฐ​กำ�หนด​แผน​พัฒนา​เศรษฐกิจ​เป็น​ครั้ง​แรก เมื่อ พ.ศ. 2504
เป็นต้น​มา กลุ่ม​ทุน​ชาว​จีน​ใน​สังคม​ได้​รับ​โอกาส​ใน​การ​ทำ�​ธุรกิจ​และ​แสวงหา​กำ�ไร​มาก​ขึ้น แต่​ยัง​ใช้​การ​พึ่งพา​
รัฐ​และ​ชนชั้น​นำ�ทาง​การเมือง​ตาม​แบบ​เดิม​พร้อมๆ ไป​กับ​การ​ร่วม​ลงทุน​กับ​ทุน​ต่าง​ชาติ​ที่​เข้า​มา​ลงทุน​ใน​
สังคมไ​ทยม​ าก​ขึ้นๆ ตามล​ ำ�ดับ และย​ ิ่งเ​กิดก​ าร​พัฒนาว​ ิทยาศาสตร์​และเ​ทคโนโลยีก​ ้าวหน้าม​ าก​ขึ้นก​ ็ย​ ิ่ง​นำ�​มา​
สู่​การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​ธุรกิจ​ให้​มี​ความ​หลาก​หลาย​และ​เป็น​ไป​อย่าง​รวดเร็ว​มาก​ขึ้น ระบบ​เศรษฐกิจ​จึง​ต้อง​
ปรับ​เปลี่ยน​ตัว​เอง​อย่าง​มากมาย ตั้งแต่​การ​ยึด​โยง​อยู่​กับ​เศรษฐกิจ​ภาค​เกษตรกรรม​แบบ​ดั้งเดิม คือ ทำ�​นา
ทำ�​ไร่ ทำ�​สวน​และ​ประมง กลุ่ม​ทุน​และ​เกษตรกร​บาง​ส่วน​ก็ได้​ปรับ​เปลี่ยน​ไป​เป็น “เกษตร​อุตสาหกรรม”
มาก​ขึ้น ด้วย​การนำ�​เครื่องจักร​เข้า​มา​ใช้​ทดแทน​แรงงาน​คนใน​กระบวนการ​ผลิต​และ​จำ�หน่าย​จ่าย​แจก​
สินค้า​และ​บริการ แม้ว่า​เกษตรกร​จำ�นวน​มาก​ยัง​คง​ทำ�​เกษตรกรรม​แบบ​เดิม​และ​พึ่งพา​ธรรมชาติ​อยู่​ต่อ​ไป
ขณะ​เดียวกัน เกษตรกรบ​ าง​ส่วน​ก็​หัน​ไป​ปลูก​พืช​เศรษฐกิจ​เชิงเดี่ยวป​ ระเภท​อื่น​แทน​ข้าว เพราะอ​ ิทธิพล​จาก​
ความต​ อ้ งการข​ องต​ ลาดจ​ ากต​ า่ งป​ ระเทศ ทีส​่ �ำ คญั ค​ อื ย​ างพารา และป​ าลม์ น​ ํา้ มนั จากท​ เี​่ ริม่ ป​ ลกู ก​ นั ม​ าใ​นภ​ มู ภิ าค​
ตอนใ​ตข้​ องป​ ระเทศ ก็เ​ริ่มก​ ระจายไ​ปส​ ูภ่​ าคต​ ะวันอ​ อก ในช​ ่วงต​ ่อม​ า พอถ​ ึงย​ ุคโ​ลกาภ​ วิ​ ัตน​ ก์​ ป็​ ลูกก​ ันม​ ากใ​นภ​ าค​
ตะวันออกเฉียงเหนือแ​ ละ​ภาค​เหนือ

       นับ​ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 เป็นต้น​มา อุตสาหกรรม​ประเภท​ต่างๆ ได้​ขยาย​ตัว​ออก​ไป​อย่าง​กว้าง​ขวาง
ระ​ยะ​แรกๆ ก็​ตั้ง​โรงงาน​อุตสาหกรรม​อยู่​ใน​กรุงเทพมหานคร และ​จังหวัด​ใกล้​เคียง หรือ​ปริมณฑล เพราะ​
สะดวก​ต่อ​การขนส่ง หรือก​ ารก​ระ​จาย​สินค้า​และ​บริการ ใน​ระ​ยะต​ ่อๆ มา รัฐบาลไ​ด้จ​ ัดท​ ำ�​นโยบาย​สนับสนุน​
การ​ลงทุน​และ​การ​สร้าง​บริการ​อุตสาหกรรม เพื่อ​ให้​เกิด​การก​ระ​จาย​ตัว​ของ​ภาค​อุตสาหกรรม​ไป​สู่​ภูมิภาค​
ต่างๆ ที่​สำ�คัญ​ก็​คือ ภาค​ตะวัน​ออก​และ​ภาค​ใต้ ส่วน​ภา​คอื่นๆ ก็​มี​โรงงาน​อุตสาหกรรม​บาง​ประเภท​เกิด​ขึ้น
เช่น โรงงานห​ ีบอ​ ้อย โรง​สี​ขนาด​ใหญ่ โรงงาน​ผลิต​เยื่อ​กระดาษ โรงงาน​อาหารก​ ระป๋อง และ​โรงงาน​ผลิตแ​ ผง​
วงจรไ​ฟฟ้า​และช​ ิ้นส​ ่วนค​ อมพิวเตอร์ เป็นต้น
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98