Page 89 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 89
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-79
ในช่วง พ.ศ. 2435–2453 และร ะบบราชการดังกล่าวนี้ก็ดำ�รงอยู่ยาวนาน และขยายโครงสร้างกว้างออกไป
มากขึ้นๆ ตามล ำ�ดับม ากว่า 100 ปี โดยม ีค วามพยายามจะป ฏิรูปให้ม ีข นาดเล็กลง และทำ�ให้ม ีป ระสิทธิภาพ
และประสิทธิผลในการท ำ�งานมากขึ้น นับตั้งแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา แต่ก็ยังไม่
ประสบผลสำ�เร็จม ากน ัก โครงสร้าง และส ถาบันท างทหารและระบบร าชการห ลายส ่วน เช่น ทหาร หน่วยง าน
ตำ�รวจ และก ระทรวงม หาดไทย เป็นต้น ยังค งเป็นส ถาบันท างการเมืองท ี่เข้มแ ข็งแ ละมีอิทธิพลทางการเมือง
อย่างสูง และอาจเข้มแข็งกว่าพรรคการเมืองต่างๆ ที่กลุ่มทุนและนักธุรกิจจัดตั้งขึ้นเป็นจำ�นวนมากด้วย
ดังก รณีการเกิดรัฐประหารว ันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ที่มีผลให้กลุ่มท ุน โดยการนำ�ของ พ.ต.ท.ทักษิณ
ชินว ัตร อภิม หาเศรษฐีค นห นึ่งในส ังคมไทยท ี่ล งทุนจ ัดต ั้งพ รรค “ไทยรักไทย” จนได้ต ำ�แหน่งน ายกร ัฐมนตรี
และต้องหมดอำ�นาจทางการเมืองไป ระหว่าง พ.ศ. 2549–2554
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองที่เริ่มปรากฏขึ้นหลังการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง
พ.ศ. 2475 ที่ส ำ�คัญ คือ รัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง รัฐสภา และร ัฐบาล มีล ักษณะอ่อนแอมาก ทั้งในด ้าน
การจ ัดต ั้ง การจัดองค์กร และก ารท ำ�หน้าที่ท างการเมือง ความอ ่อนแอด ังกล่าวนี้ วัดได้จากหลายเกณฑ์ คือ
หนึ่ง อายุของสถาบัน รัฐธรรมนูญท ั้ง 18 ฉบับ ที่ป ระกาศใช้อ ยู่ราว 79 ปี มีอายุเฉลี่ยฉ บับละ 4.31 ปี ส่วน
รัฐบาล รัฐสภา และพ รรคการเมือง ก็ย ิ่งม ีอายุส ั้นก ว่าน ี้ม าก แม้แต่พ รรคป ระชาธิปัตย์ ที่อ ้างว ่าม ีอายุ 60 กว่าป ี
ก็ต้องย ุติบทบาทท างการเมืองไปเป็นเวลาน านๆ หลายครั้ง โดยบางค รั้งก็ยุติไปกว่า 10 ปี เช่น ระหว่าง พ.ศ.
2501–2512 เป็นต้น สอง ด้านของกฎระเบียบ หรือการสร้างกฎหมาย กฎเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ และการ
บังคับใช้กฎหมายตามอำ�นาจห น้าที่ของสถาบันแ ต่ละสถาบัน ก็พ บว่า มีป ัญหาม ากที่สุด โดยเฉพาะอ ย่างยิ่ง
การบ ังคับใช้กับบ รรดาน ักการเมือง และผ ู้ที่ดำ�รงต ำ�แหน่งส าธารณะต ่างๆ ผลก ็ค ือ เกิดก ารบ ิดเบือนอ ำ�นาจ
(abuse of power) ไปเอื้อประโยชน์ต่อต นเองแ ละพ วกพ ้องของค นเหล่าน ี้อย่างกว้างขวาง และใช้อำ�นาจเพื่อ
สร้างระบบอุปถัมภ์กับฝ่ายข้าราชการประจำ�และผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งในเขตอิทธิพลของแต่ละคน จน
เกิดระบบค อรัปช ัน (corruption systems) ขึ้นในส ถาบันทางการเมืองทุกสถาบัน การตรวจส อบโดยก ลไก
ตรวจสอบปกติหลายครั้งได้ปรากฏการคอรัปชันในหน่วยงานต่างๆ หลากหลายรูปแบบ โดยมีนักการเมือง
ข้าราชการ และพวกพ้องมีส่วนเกี่ยวข้องทั้งโดยตรงและโดยอ้อม และการตรวจสอบโดยกลไกพิเศษหลัง
การรัฐประหารหลายครั้ง หรือด้วยกลไกพิเศษต่างๆ ก็พบว่า นักการเมืองระดับสูงมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นอย่าง
ผิดปกติ เช่น กรณีจอมพ ลสฤษดิ์ ธนะรัชต ์ จอมพลถนอม กิตติขจร และ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินว ัตร สองร ายแ รก
ได้ม ีคำ�สั่งย ึดทรัพย์สินเข้าเป็นของรัฐราว 400–600 ล้านบาท ส่วนรายที่ส าม ศาลรัฐธรรมนูญได้พ ิพากษาใน
วันท ี่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 ให้ย ึดท รัพย์สินตกเป็นของรัฐมีม ูลค่าก ว่า 42,000 ล้านบาท และสาม ในเชิง
ของอำ�นาจและอ ิทธิพลเมื่อเปรียบเทียบกับส ถาบันทางการเมืองอ ื่นท ี่มีล ักษณะเป็น “คู่แ ข่ง” หรือ “ฝ่ายต รง
ข้าม” ในท ี่นี้ ก็ค ือ องค์กรทหารแ ละร ะบบราชการ ความส ำ�เร็จของก ารรัฐประหารถึง 10 ครั้ง ในร อบ 75 ปี
ระหว่าง พ.ศ. 2475–2549 หรือเฉลี่ย 7.5 ปีต ่อค รั้ง แสดงถ ึงความเข้มแ ข็งและอ าจมีค วามชอบธรรมมากกว่า
ของฝ า่ ยท หารแ ละร ะบบร าชการ และก ารร ฐั ประหารย งั เปน็ การท �ำ ลายห รอื ล ดค ณุ คา่ ข องส ถาบนั พ รรคการเมอื ง
รัฐสภา และรัฐบาลลงโดยตรง