Page 87 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 87
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-77
เร่อื งที่ 5.3.1 ปัญหาเกย่ี วก บั โครงสร้าง และสถาบนั
ทางการเมืองก ารปกครองของไทย
โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารปกครองข องไทยได้เกิดการเปลี่ยนแปลงม าห ลายครั้ง โดย
บางครั้งเป็นการเปลี่ยนแปลงให้ทันสมัย ตามแบบอย่างของประเทศประชาธิปไตย “ตะวันตก” หรือจัดทำ�
โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองท ี่ม ีความซ ับซ ้อน จัดแบ่งแยกอำ�นาจหน้าที่ไว้เฉพาะด้านแ ละหลากห ลาย
แต่ส ถาบันท างการเมืองร ูปแ บบใหม่ต ่างๆ ค่อนข ้างม ีเวลาน ้อยในก ารพ ัฒนา และป รับต ัวให้เกิดค วามเข้มแ ข็ง
มากขึ้น เพราะเมื่อใดที่สถานการณ์ทางการเมืองเกิดความตึงเครียดจากปัญหาความขัดแย้งและแตกแยก
ทางการเมืองรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระหว่างกลุ่มชนชั้นนำ�ทางการเมือง ก็มักจะนำ�ไปสู่การยุบเลิก
สถาบันรัฐธรรมนูญและเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่มีทิศทางแตกต่างกันอยู่ 2–3 แนวทาง
ใหญ่ๆ คือ หน่ึง การกำ�หนดโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองไว้เพียงสถาบันหลักๆ เปิดทางให้คนบาง
กลุ่มเท่านั้นเข้าไปมีตำ�แหน่งทางการเมือง และป ิดก ั้นการมีส่วนร่วมทางก ารเมืองข องม วลชน สอง การจ ัดทำ�
โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองท ี่ม ีค วามห ลากห ลายซ ับซ ้อนแ บ่งแ ยกห น้าที่ต ามค วามช ำ�นาญเฉพาะด ้าน
รวมท ัง้ จ ดั ร ะบบต รวจส อบแ ละถ ว่ งด ลุ อ�ำ นาจร ะหว่างโครงสรา้ ง และส ถาบันท างการเมืองต ่างๆ ไว้ และเปิดท าง
ให้ประชาชนเข้าไปม ีส ่วนร่วมท างการเมืองโดยท างตรง และโดยอ้อม และส าม มีลักษณะผสมผ สานระหว่าง
รูปแ บบท ี่หนึ่งกับส อง คือ การเปิดท างให้ก ลุ่มคนจ ากฝ ่ายท หารและข้าราชการเข้าไปม ีตำ�แหน่งในโครงสร้าง
และส ถาบันท างการเมืองร่วมก ับฝ่ายท ี่มาจ ากการเลือกตั้ง หรือการมีส่วนร ่วมทางการเมืองของกลุ่มพลังทาง
สังคมต ่างๆ โดยในท ุกแนวทางม ักเป็นไปอ ย่างไร้เสถียรภาพแ ละอ่อนแอ
ปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองของไทยจึงอาจแยกพิจารณาออก
ได้เป็น 2 ด้านใหญ่ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ก็คือ ด้านข องโครงสร้าง และส ถาบันทางการเมืองก ารปกครองก ับด ้าน
สภาพแ วดล้อม
1. ดา้ นข องโครงสรา้ ง และสถาบันทางการเมอื งการป กครอง
ปัญหาในด ้านน ี้อาจแยกส ่วนที่สำ�คัญๆ ออกได้ดังนี้ คือ
1.1 การเปล่ียนแปลงในเชิงการปฏิรูปเกิดขึ้นเพียงบางส่วนหรือไม่รอบด้านไม่ครอบคลุมทุกส่วน
ในระบบก ารเมือง และม ักจ ะเน้นให้เกิดก ารเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองในส ่วนกลาง
หรือศูนย์กลางเป็นหลักมาเกือบทุกยุคทุกสมัย นับตั้งแต่การจัดระบบจตุสดมภ์และสมุหกลาโหมและ
สมุหนายก ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ การจัดทำ�ระบบราชการ (bureaucracy) ตามแบบอย่าง
ตะวันต กในสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอ ยู่หัว ความพ ยายามปฏิรูปโครงสร้าง และส ถาบันทางการเมือง
ในย ุคหลังเปลี่ยนแปลงการเมืองการป กครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นม า ก็ยังคงมีพ ลังร วมศูนย์อำ�นาจที่เข้มแข็ง