Page 90 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 90
5-80 การเมืองการปกครองไทย
ความอ่อนแอจากเงื่อนไขและเกณฑ์ต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น สถาบันทางการเมืองสำ�คัญๆ เหล่านี้
จึงขาดการพัฒนา ทำ�ให้เกิดปัญหาขึ้นในตัวของสถาบันเองจนย้อนกลับมาเพิ่มระดับความอ่อนแอให้มีมาก
ขึ้นไปอีก
1.3 การขาดกลไกในการคิดสร้างสรรค์และปรับตัวเองของโครงสร้าง และสถาบันทางการเมือง
สถาบนั ท จ่ี ะม รี ะดบั ก ารส รา้ งส ถาบนั ไ ดส้ งู (highly institutionalization) จะต ้องม คี วามส ามารถในก ารป รับต วั
(adaptation) ไดด้ ี (Samuel P. Huntangton, 1968: 8-24)* กล่าวค ือ สามารถป รับต ัวใหเ้หมาะส มก ับส ภาพ
แวดล้อมทางด้านต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งในส ังคมเดียวกันแ ละระดับนานาชาติห รือระหว่างสังคม เพราะ
หน้าทีท่ ีส่ ำ�คัญท ี่สุดข องส ถาบันท างการเมืองค ือ การส ร้างร ะเบียบ และก ฎหมาย เพื่อบ ังคับใชใ้หส้ ามารถส นอง
ตอบต่อความต้องการและความคาดหวังของคนในสังคมหรือระหว่างสังคม ถ้าสามารถทำ�หน้าที่สนองตอบ
ได้มากเท่าใด ระดับก ารส นับสนุนจ ากสังคมก็ยิ่งจะสูงมากเท่านั้น และจ ะช่วยย กระดับค วามช อบธ รรมของ
สถาบัน (legitimacy) ให้สูงข ึ้นอ ีกด้วย
สถาบนั ท างการเมอื งต ามร ปู แ บบป ระชาธปิ ไตยต ะวนั ต กท ไี่ ดร้ บั ก ารส ถาปนาข ึน้ ห ลงั ก ารเปลีย่ นแปลง
การเมืองก ารปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา คือ รัฐธรรมนูญ รัฐสภา รัฐบาล ตุลาการ และพรรคการเมือง
ส่วนก ลุ่มผ ลป ระโยชนต์ ่างๆ ของค นในภ าคส ังคม ไมส่ ามารถป รับต ัวใหอ้ ยูร่ อดไดเ้ลย เมื่อค วามค าดห วังแ ละ
ความต ้องการข องก ลุ่มต ่างๆ ไม่ได้ร ับก ารส นองต อบ ก็น ำ�ไปส ู่ภ าวะค วามต ึงเครียดท างการเมือง และส ุดท้าย
ผู้นำ�ทหารก ็ใช้ก ำ�ลังเข้าย ึดอ ำ�นาจ ล้มล ้างสถาบันท างการเมืองเหล่าน ี้
เมื่อส ถานการณท์ างการเมืองเปลี่ยนแปลงไป และเปิดโอกาสใหส้ ถาบันท างการเมืองเหล่าน ี้ไดจ้ ัดต ั้ง
ขึน้ ใหม่ การก อ่ เกดิ แ ละก ารแ สดงบ ทบาทท างการเมอื งข องส ถาบนั ท างการเมอื งเหลา่ น กี้ เ็ ปน็ ไปในล กั ษณะเดมิ ๆ
หรอื พ ยายามท �ำ ใหก้ ารจ ดั อ งคก์ รส อดคลอ้ งก บั เงือ่ นไขข องก ฎหมายใหมท่ มี่ กี ารป ระกาศใช้ แตไ่ มม่ กี ลไกใหมๆ่
ทีเ่หมาะส มท ีจ่ ะช ่วยใหส้ ามารถป รบั ต วั ในก ารท �ำ หนา้ ทีใ่หไ้ ดด้ กี วา่ เดิม ในท างต รงก นั ข า้ ม มกั จ ะเกิดป ญั หาแ ละ
ความข ัดแ ย้งก ันอ ยูภ่ ายในโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองต ่างๆ ในเชิงข องผ ลป ระโยชนแ์ ละก ลุ่มอ ยูเ่สมอ
สถาบันทางการเมืองจึงไม่ส ามารถจ ะป รับตัวเองให้ท ันกับสภาพแ วดล้อมต ่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป
2. ด้านของสภาพแ วดลอ้ ม
สภาพแ วดล้อมแยกอ อกได้เป็น 3 ด้านใหญ่ๆ คือ การเมือง เศรษฐกิจ สังคมแ ละวัฒนธรรม
2.1 ด้านการเมือง การเรียกร้องความต้องการและผลประโยชน์ต่างๆ เข้าสู่ระบบการเมืองในยุค
สุโขทัย อยุธยา และร ัตนโกสินทร์ก ่อนการเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง พ.ศ. 2475 เกิดข ึ้นอ ยู่ในกลุ่ม
ชนชั้นผู้ป กครอง (ruling classes) เป็นห ลัก เพราะร ะบบการเมืองรวมศูนย์อำ�นาจ และให้ค วามสำ�คัญกับ
“ตัวบ ุคคล” หรือช นชั้นผ ู้ป กครอง ประชาชนถ ูกก ำ�หนดส ถานภาพให้เป็นบ่าว ไพร่ และทาส และต้องอยู่ใต้
สังกัด หรือการควบคุม ดูแลของ “มูลนาย” การแย่งชิงสถานภาพผู้นำ�สูงสุดหรือศูนย์กลางอำ�นาจในการ
ปกครอง จึงเกิดขึ้นในระหว่างก ลุ่มชนชั้นผู้ปกครองเท่านั้น
*นอกจากค วามสามารถในการป รับตัวแ ล้ว Huntington ยังกำ�หนดให้ม ีอ ีก 3 ปัจจัยในก ารส ร้างส ถาบัน คือ ความซ ับซ ้อน
ของโครงสร้าง (Complexity) ความเป็นอ ิสระ (Autonomy) และความเป็นกลุ่มก้อน (Coherence)