Page 88 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 88

5-78 การเมืองการปกครองไทย

ขัดข​ วางพ​ ลัง​การก​ระจ​ า​ยอำ�​นาจจ​ น​ทำ�ให้ก​ าร​ปฏิรูป​การเมืองไ​ม่เ​กิด​ขึ้นอ​ ย่างร​ อบ​ด้าน หรือส​ ามารถท​ ำ�ให้ก​ ลุ่ม​
พลังต​ ่างๆ ทางส​ ังคมเ​ข้มแ​ ข็งข​ ึ้นม​ าจ​ นส​ ามารถถ​ ่วงด​ ุลก​ ับพ​ ลังอ​ ำ�นาจข​ องท​ หารแ​ ละร​ ะบบร​ าชการไ​ด้ โครงสร้าง
และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​ต่างๆ จึง​มี​ลักษณะ​ขาด​ดุลยภาพ และ​มี​ลักษณะ​ขัด​แย้ง​กัน​ใน​การ​ทำ�งาน​จน​ทำ�ให้​
ระบบก​ ารเมือง​ตึงเครียด​ขึ้น​หลาย​ครั้ง

       รัฐธรรมนูญ จำ�นวน 18 ฉบับ ที่ป​ ระกาศ​ใช้ม​ าใ​นร​ อบ 79 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475–2554 มีเ​พียง 4–5
ฉบับ ที่บ​ ัญญัติ​ให้ม​ ีโ​ครงสร้าง และส​ ถาบัน​ทางการเ​มืองท​ ี่ม​ ี​ความ​ซับ​ซ้อน​และ​หลากห​ ลาย โดยเ​ฉพาะอ​ ย่าง​ยิ่ง​
รัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2550 ที่​มีบ​ ทบัญญัติ​ให้เ​กิดโ​ครงส​ ร้าง​ใหม่ๆ ในร​ ะบบ​การเมือง คือ การ​มี​
องค์กรอ​ ิสระ และอ​ งค์กรข​ องร​ ัฐข​ ึ้นม​ าท​ ำ�​หน้าทีใ​่ นก​ ารต​ รวจส​ อบแ​ ละค​ วบคุมก​ ารเ​ข้าส​ ูอ่​ ำ�นาจแ​ ละก​ ารใ​ชอ้​ ำ�นาจ​
ของส​ ถาบันท​ างการเ​มืองต​ ่างๆ แตร่​ ัฐธรรมนูญเ​หล่าน​ ีก้​ ป็​ ระกาศใ​ชอ้​ ยูเ่​พียงช​ ่วงเ​วลาส​ ั้นๆ ราว 18–19 ปี โดยบ​ าง​
ฉบับป​ ระกาศ​ใช้อ​ ยู่เ​พียง 1–2 ปี คือ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2492 และ พ.ศ. 2517 ส่วนร​ ัฐธรรมนูญฯ​
พ.ศ. 2540 ประกาศ​ใช้​อยู่ 9 ปี ขณะท​ ี่​รัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2550 ใช้​ติดต่อ​กัน​มา 4 ปี จนถึง พ.ศ. 2554

       รัฐธรรมนูญ​อีก 6 ฉบับ กำ�หนด​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง ค่อนข​ ้างร​ วม​ศูนย์​อำ�นาจ​และ​
ปิด​กั้น​การ​รวม​กลุ่ม​และ​การ​ก่อ​เกิด​พลัง​ทาง​สังคม​ใน​ภาค​ประชาชน จน​มี​ผล​ทำ�ให้​กระบวนการ​สร้าง​สถาบัน​
ทางการ​เมือง (political institutionalization) ในแ​ นวทาง​ประชาธิปไตยข​ อง​ไทย​ประสบ​ปัญหา​อย่าง​มาก
ความ​อ่อนแอ​และ​ล้ม​เหลว​ของ​พรรคการเมือง และ​กลุ่ม​ผล​ประโยชน์​ต่างๆ ของ​คน​ไทย มี​สาเหตุ​มา​จาก​การ​
ประกาศ​ใช้​รัฐธรรมนูญเ​หล่าน​ ี้​ด้วย รัฐธรรมนูญท​ ั้ง 6 ฉบับ ดังก​ ล่าว คือ ฉบับ พ.ศ. 2502 พ.ศ. 2515 พ.ศ.
2519 พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2534 (ชั่วคราว) และ พ.ศ. 2549 มี​เวลาป​ ระกาศใ​ช้ร​ วมแ​ ล้วน​ านถ​ ึง 15 ปี โดย​เฉพาะ​
อย่าง​ยิ่งภ​ ายใน​ภาวะ​ผู้นำ�​ของ​ผู้นำ�​ทหารบ​ ก 2 คน คือ จอมพ​ ล​สฤษดิ์ ธนะร​ ัช​ต์ และ​จอมพลถ​ นอม กิตติข​ จร
ระหว่าง พ.ศ. 2501–2516 อำ�นาจ​ทางการ​เมืองม​ ี​ลักษณะ​รวมศ​ ูนย์​อยู่ท​ ี่ “ตัวบ​ ุคคล” และ “คณะ​บุคคล” เป็น​
หลัก สถาบัน​ทางการ​เมือง​ใน​ทาง​ประชาธิปไตย​จึง​ด้อย​คุณค่า​และ​หมด​ความ​สำ�คัญ​ลง ขณะ​ที่​องค์กร​ทหาร​
และ​ระบบร​ าชการไ​ด้​ถูก​สร้างใ​ห้​เป็น​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​มาก​ยิ่งข​ ึ้น​กว่า​ในย​ ุค​ของ​จอมพล ป.
พิบูลส​ งคราม ที่อ​ ยู่ใ​นอ​ ำ�นาจย​ าวนาน​ถึง​กว่า 14 ปี

       ส่วน​รัฐ​ธร​รมนูญ​อื่นๆ อีก 7 ฉบับ ได้​จัด​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​ใน​ลักษณะ
“กึ่ง​ประชาธิปไตย​กึ่ง​อำ�​มา​ต​ยาธิป​ไตย” เป็น​สำ�คัญ และ​ใช้​อยู่​รวม​กัน​เป็น​เวลา​นาน​กว่า 45 ปี นอกจาก​จะ​
สะท้อนถ​ งึ ค​ วามอ​ อ่ นแอข​ องโ​ครงสรา้ ง และส​ ถาบนั ท​ างการเ​มืองต​ ่างๆ ทีเ่​กดิ ข​ ึน้ แ​ ลว้ ยังส​ ะทอ้ นถ​ ึงก​ ารพ​ ยายาม​
ประนีประนอม​กันใ​น​ทางการ​เมือง​ระหว่างก​ ลุ่มพ​ ลังท​ หารแ​ ละข​ ้าราชการ​กับ​กลุ่มท​ ุนแ​ ละน​ ัก​ธุรกิจ ที่พ​ ยายาม​
จัด​ตั้งพ​ รรคการเมืองเ​พื่อ​เข้า​สู่อ​ ำ�นาจ​ทางการ​เมือง​ผ่าน​การ​เลือกต​ ั้ง​อีกด​ ้วย

       1.2 	 ความ​อ่อนแอ​และ​ขาด​การ​พัฒนา​ของ​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​ต่างๆ การ​ศึกษา
​สาระ​สำ�คัญ​และ​ราย​ละเอียด​ของ​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ของ​ไทย​ใน​ตอน​ที่ 5.2
พบ​ว่า ใน​ยุค​เก่า​โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ของ​ไทย​มี​ลักษณะ​เรียบ​ง่าย (simplicity)
และใ​หค้​ วามส​ ำ�คัญก​ ับต​ วั บ​ คุ คลผ​ ูม​้ ต​ี ำ�แหนง่ ท​ างการเ​มืองค​ ่อนข​ ้างม​ าก แตโ่​ครงสรา้ ง และส​ ถาบันท​ างการเ​มือง​
เหล่า​นี้​กลับส​ ามารถ​ดำ�รงอ​ ยู่ไ​ด้อ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง​ยาวนานม​ ากใ​นช​ ่วงแ​ รก คือร​ ะบบส​ มุหก​ ลาโหม สมุหนายก และ​
จตุสดมภ์ ใช้อ​ ยู่​นานถ​ ึง​ราว 400 ปี ก่อน​จะ​เกิด​การส​ ร้างร​ ะบบร​ าชการ​แบบต​ ะวันต​ กท​ ี่​มี​ความ​ซับซ​ ้อนม​ าก​ขึ้น
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93