Page 83 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 83
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-73
ทัง้ ห ลาย กย็ งั ค งก �ำ หนดใหม้ กี ารก อ่ ต ัง้ อ �ำ นาจ หนา้ ที่ และบ ทบาทท างการเมอื ง ตลอดจ นก ารต รวจส อบ ควบคมุ
และก ารถ ่วงด ุลอำ�นาจก ับส ถาบันท างการเมืองอ ื่นไว้อ ย่างซ ับซ ้อน แต่ได้เพิ่มบ ทล งโทษร ุนแรงข ึ้นในก รณีข อง
พรรคการเมือง ถ้าม กี ารท ำ�ผิดเกี่ยวก ับก ารเลือกต ั้ง จะต ้องถ ูกล งโทษถ ึงข ั้นย ุบพ รรคแ ละต ัดส ิทธิ์ทางการเมือง
ของคณะกรรมการบ ริหารพ รรค เป็นเวลา 5 ปี (มาตรา 237)
ในโครงสร้างพื้นฐาน คือ ระบบการเลือกตั้ง อปท. ทั้งหลาย และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของ
ประชาชน กลุ่ม และชุมชนท ้องถ ิ่นต ่างๆ นอกจากจะค งไว้ต ามร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 แล้วก็ได้เปลี่ยนแปลง
ระบบการเลือกตั้ง แตกต่างไปจ ากเดิมในบางล ักษณะ กล่าวค ือ ในการเลือกตั้ง ส.ว. กำ�หนดให้ ส.ว. ทั้งหมด
150 คน มีที่มาจ าก 2 ทาง 76 คน มาจ ากการเลือกต ั้งโดยตรงข องประชาชนจังหวัดล ะ 1 คน อีก 74 คน มาจาก
การ “สรรหา” เริ่มจ ากก ลุ่ม องค์กรต ่างๆ ของภ าคป ระชาชน หน่วยง านร าชการ รัฐวิสาหกิจ และอื่นๆ เสนอ
ตัวแทนไปให้ “คณะก รรมการส รรหา” ที่ม ีอ ยู่ 7 คน* เป็นผ ู้ค ัดเลือกให้เหลือ 74 คน ถ้าพ ิจารณาในแ ง่น ี้ ก็อ าจ
ตีความได้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับน ี้ไม่ได้เชื่อมั่นในระบบเลือกต ั้งที่ให้การต ัดสินใจข องผ ู้ม ีส ิทธิ์เลือกต ั้งท ั้งหมด
จึงได้กำ�หนด “ระบบส รรหา” มาใช้ประกอบในส ่วนข อง ส.ว. ส่วนก ารเลือกต ั้ง ส.ส. ได้ล ดจำ�นวน ส.ส. ให้
เหลือ 480 คน มาจาก 2 ระบบ ระบบแบ่งเขตเลือกตั้งก ำ�หนดให้เป็น “แบ่งเขตเรียงเบอร์” แทน “เขตเดียว
เบอร์เดียว” ทำ�ให้ ส.ส. 400 คน ในระบบนี้ มีจ ำ�นวนเขตล ะ 1–3 คน อีก 80 คน จากร ะบบบ ัญชีร ายชื่อ ก็ให้
รวมก ลุ่มจังหวัดเป็น 8 กลุ่มจังหวัด และให้ม ี ส.ส. กลุ่มละ 10 คน แล้วค ิดคะแนนเสียงท ี่ได้ร ับในแ ต่ละกลุ่ม
จังหวัด พรรคการเมืองจ ะส ่งผ ู้ส มัครร ับเลือกต ั้งแ บบส ัดส่วนท ุกเขตเลือกต ั้ง (กลุ่มจ ังหวัด) หรือเพียงบ างเขต
เลือกตั้งก ็ได้ แต่ผู้สมัครร ับเลือกต ั้งต้องสังกัดพ รรคการเมืองจ ึงจ ะม ีส ิทธิ์สมัครรับเลือกต ั้ง และถ้า ส.ส. คน
ใดถูกพ รรคขับอ อกจ ากสมาชิกพ รรค ก็ต้องอ ุทธรณ์ต ่อศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อค ้านม ติข องพรรคท ี่ขับอ อก แต่
ก็อ าจม ีโอกาสที่จ ะห มดสมาชิกภ าพได้ ยกเว้นศาลพิพากษาว่าพ รรคเป็นฝ ่ายผ ิด จึงจ ะม ีโอกาสห าพ รรคส ังกัด
ใหม่ภายใน 30 วัน จึงจ ะร ักษาสมาชิกภาพ ส.ส. ไว้ได้ และร ัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังยืนยันว่า “บุคคลมีหน้าท ี่ไป
ใช้ส ิทธิเลือกตั้ง” (มาตรา 72)
ในส่วนของ อปท. มีบทบัญญัติให้รัฐต้องกระจายอำ�นาจให้ อปท. และต้องให้ความเป็นอิสระแก่
อปท. ตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ข องประชาชนในท้องถิ่น และให้มีกฎหมายกำ�หนด
แผนและขั้นตอนการกระจายอำ�นาจ เพื่อกำ�หนดการแบ่งอำ�นาจหน้าที่และจัดสรรรายได้ระหว่างราชการ
ส ่วนก ลางแ ละราชการส ่วนภูมิภาค กับ อปท. และระหว่าง อปท. ด้วยกันเอง และบ ทบัญญัติให้ส มาชิกส ภา
ท้องถิ่น และผู้บริหารท ้องถิ่นม าจ ากก ารเลือกต ั้งโดยตรงข องประชาชน
ด้านข องก ารมีส่วนร่วมทางการเมืองข องประชาชนก ็เป็นไปอย่างก ว้างข วาง ตั้งแต่การม ีหน้าท ี่ไปใช้
สิทธิ์เลือกตั้ง การรวมก ลุ่มกันในร ูปแบบต ่างๆ การร วมก ันเป็นช ุมชน การเข้าไปร ่วมในก ระบวนการกำ�หนด
นโยบายสาธารณะ และก ารตัดสินใจทางการเมือง ไปจนถึงการเข้าชื่อกันเพื่อถอดถอนผู้ดำ�รงตำ�แหน่งทาง
*ประกอบด ้วยป ระธานศาลร ัฐธรรมนูญ ประธานค ณะก รรมการการเลือกต ั้ง ประธานผ ู้ต รวจก ารแ ผ่นดิน ประธานกรรมการ
ปอ้ งกนั แ ละป ราบป รามก ารท จุ รติ แ หง่ ช าติ ประธานก รรมการต รวจเงนิ แ ผน่ ดนิ ผพู้ พิ ากษาในศ าลฎ กี า ซึง่ ท ปี่ ระชมุ ใหญศ่ าลฎ กี าม อบห มาย
1 คน และต ุลาการในศ าลป กครองส ูงสุด ซึ่งท ีป่ ระชุมใหญต่ ุลาการในศ าลป กครองส ูงสุดม อบห มาย 1 คน (มาตรา 113 ของร ัฐธรรมนูญฯ
พ.ศ. 2550)