Page 81 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 81

ส่วนบ​ น                                                  โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-71

                                                         พระม​ หา​กษัตรยิ ์

        รัฐสภา                             ฝ่าย​บริหาร: คณะ​รัฐมนตรี       ตลุ าการ (ระบบศ​ าลค​ ู่)
   วุฒิสภา (200 คน)                          นายกร​ ัฐมนตรี 1 คน        ศาลย​ ุติธรรม ศาล​ปกครอง
สภาผ​ ู้​แทน​ราษฎร (500 คน)                 รัฐมนตรี ไม่​เกิน 35 คน     	 ศาลร​ ฐั ธรรมนญู
                                                                        	 ศาล​ฎีกาฯ
ส่วนกลาง      พรรค                         อ​องิสคร์กะร
   พรรค      การเมือง                                                   องค์การภ​ าค​รัฐท​ ี่เ​ป็น​อิสระ
  การเมือง                                 องค์กร
                                           อ​ ิสระ                           องค์กร
                                                         ระบบ​ราชการ        ป​ กครอง
                                                                           ส่วนท​ ้องถ​ ิ่น
 พรรค         พรรค                         ป.ป.ช. ส่วน​กลาง
การเมือง     การเมือง                                     ส่วน​ภูมิภาค

             ระบบ​เลอื ก​ตัง้              กกต. จังหวัด
                                                             อำ�เภอ
กลุ่มผ​ ล                       กลุ่มผ​ ล                    ตำ�บล
ประโยชน์                       ประโยชน์
สว่ นล​ ่าง                    “หน้าที่”                    หมู่บ้าน

                                           ภาคป​ ระชาชน

        ภาพท​ ่ี 5.11 โครงสรา้ ง และ​สถา​บัน​ทางการ​เมอื งก​ าร​ปกครองภ​ ายใ​ต้ร​ ฐั ธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540
หมายเหตุ 	ลูก​ศร​โยง​ไป​มา หมาย​ถึง ความ​เกี่ยวข้อง​กัน​เชิง​อำ�นาจ​และ​กระบวนการ​ใน​การ​ใช้​อำ�นาจ​ที่ค่อน​ข้าง​

          ซับซ​ ้อน​และ​หลากห​ ลาย

8. 	โครงสร้าง และส​ ถาบันท​ างการ​เมือง​การ​ปกครองข​ องไ​ ทย ตงั้ แต่ พ.ศ. 2549-2554

       หลังจ​ ากท​ ี่ “คณะป​ ฏิรูปก​ ารป​ กครองใ​นร​ ะบอบป​ ระชาธิปไตยอ​ ันม​ ีพ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์ท​ รงเ​ป็นป​ ระมุข”
หรือ คปค. ได้​ทำ�​รัฐประหารล​ ้มร​ ัฐบาล ที่ม​ ี พ.ต.ท.ทักษิณ ชิน​วัตร หัวหน้าพ​ รรคไ​ทยรักไทยเ​ป็นน​ ายกร​ ัฐมนตรี
มาต​ ั้งแต่ห​ ลังก​ าร​เลือกต​ ั้งท​ ั่วไป พ.ศ. 2544 เมื่อ​คืนว​ ันท​ ี่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 และไ​ด้​ประกาศย​ กเลิก​การ​
ใชร้​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 แล้วก​ ็ไดอ้​ อกป​ ระกาศใ​ชร้​ ัฐธรรมนูญท​ ีค่​ ณะร​ ัฐประหารจ​ ัดท​ ำ�​ขึ้นใ​นว​ ันท​ ี่ 1 ตุลาคม
พ.ศ. 2549 โดยม​ ีเ​จตนารมณใ์​ห้เ​ป็นฉ​ บับช​ ั่วคราว เพราะไ​ด้ก​ ำ�หนดใ​ห้ม​ ีก​ ารจ​ ัดต​ ั้งส​ ภาร​ ่างร​ ัฐธรรมนูญข​ ึ้น และ​
ให้ย​ ึดเ​อาร​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 มา​เป็นต้นแ​ บบ โดย​กำ�หนด​ระยะเ​วลาใ​ห้จ​ ัด​ทำ�​แล้วเ​สร็จ​ใน 180 วัน พร้อม​
กับ​กระบวนการ​รับ​ฟัง​ความ​คิดเ​ห็น​ของอ​ งค์กร สถาบัน​ต่างๆ และป​ ระชาชน​โดย​ทั่วไป และข​ ั้น​สุดท้าย​ต้อง​ให้​
ประชาชนล​ ง​ประชามติว​ ่าจ​ ะ​รับ​หรือไ​ม่ร​ ับ​ร่าง​รัฐธรรมนูญ
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86