Page 77 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 77
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-67
7. โครงสรา้ ง และส ถาบนั ทางการเมืองการป กครองข องไ ทย ตัง้ แต่ พ.ศ. 2540-2549
ในช ่วงเวลาร าว 10 ปี ดังก ล่าวน ี้ ไดเ้กิดก ารเปลี่ยนแปลงค รั้งส ำ�คัญในก ารเมืองก ารป กครองข องไทย
หลังเหตุการณ์ร ุนแรง วันที่ 17–20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 จนเกิดยุคป ฏิรูปการเมืองข ึ้น “รัฐธรรมนูญฉ บับ
ปฏิรูป” นี้ บังคับใช้อ ยู่ในช ่วงว ันท ี่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ถึงก ารรัฐประหาร วันท ี่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังคงยึดหลักการแบบ
รัฐสภา ที่ประกอบด ้วยสองสภา ฝ่ายบริหาร คือ คณะร ัฐมนตรี และส ถาบันตุลาการ และยังมีบทบัญญัติ
เกี่ยวกับพ รรคการเมือง ระบบเลือกต ั้ง เหมือนกับร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2517 หรือแ ม้แต่ฉบับกึ่งป ระชาธิปไตย
พ.ศ. 2521 และ พ.ศ. 2534 แต่โครงสร้างย่อยแ ละสาระสำ�คัญห ลายอย่างในโครงสร้าง และสถาบันหลักๆ
ดังกล่าวนี้ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปมาก นอกจากนั้น ยังมีการกำ�หนดโครงสร้าง และสถาบันทางการเมือง
การปกครองใหม่ๆ ขึ้นมาเพิ่มเติม เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการตรวจสอบ และควบคุมกระบวนการเข้าสู่อำ�นาจ
และการใช้อำ�นาจของนักการเมืองและกลุ่มการเมืองให้โปร่งใสและเป็นระบบมากยิ่งขึ้น ในโครงสร้างระดับ
พืน้ ฐ าน นอกจากก ารย กเลกิ อ �ำ นาจข องก ระทรวงม หาดไทยในก ารจ ดั การเลอื กต ัง้ ม าข ึน้ อ ยกู่ บั อ งคก์ รท มี่ อี �ำ นาจ
หน้าที่เฉพาะด้าน คือ คณะก รรมการการเลือกต ั้ง (กกต.) แล้ว ยังเปิดทางให้เกิดการม ีส ่วนร ่วมท างการเมือง
ของประชาชนอย่างกว้างขวาง หรือเกิดการส ร้างป ระชาธิปไตยแบบม ีส ่วนร ่วม (Participatory Democracy)
ขึ้นมาควบคู่กับประชาธิปไตยแบบตัวแทน (Representative Democracy) หรือประชาธิปไตยรัฐสภา
(Parliamentary Democracy) ในแ บบจ ารีตป ระเพณี ที่ใช้มาต ลอดกว่า 75 ปี (จนถึง พ.ศ. 2540) และเกิด
การเปลี่ยนแปลงในม ิติท ี่เรียกว ่า กระบวนการก ระจายอ ำ�นาจ (Decentralization processes) ไปสู่ก ารเมือง
การปกครองส่วนท ้องถ ิ่นอ ย่างที่ไม่เคยเกิดข ึ้นมาก ่อนอีกด ้วย
สถาบันพ ระม หาก ษตั ริย์ ยังค งใชบ้ ทบ ัญญัตเิดิมๆ เกีย่ วก ับฐ านข องพ ระม หาก ษตั รยิ ์ คณะอ งคมนตรี
การส ืบส ันตตวิ งศ์ ตามก ฎม ณเฑียรบ าล พ.ศ. 2467 และการแ ต่งต ั้งผ ูส้ ำ�เร็จร าชการแ ทนพ ระองค์ นอกจากนั้น
ก็มีบ ัญญัติถ ึงพ ระราชอำ�นาจไว้ด้วย เช่น การแ ต่งต ั้งคณะก รรมการก ารเลือกต ั้ง การแ ต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
และแ ต่งต ั้งค ณะต ุลาการศาลรัฐธรรมนูญ เป็นต้น
สถาบันน ิติบัญญัติ คือร ะบบร ัฐสภา และประกอบด้วย 2 สภา คือ วุฒิสภา และสภาผ ู้แ ทนราษฎร
ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิก 500 คน มาจากการ
เลือกต ั้ง 2 ระบบ กล่าวคือ มาจ ากร ะบบบ ัญชีร ายช ื่อพ รรค (Party list) 100 คน โดยระบบก ารค ิดค ะแนนแบบ
สัดส่วน (Proportional System: PS) และจ ากระบบแบ่งเขตเลือกตั้งเขตละค น หรือ One Man One Vote
อีก 400 คน โดย ส.ส. ต้องไม่ด ำ�รงตำ�แหน่งอื่นใดในหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์กรป กครองส ่วนท้องถ ิ่น
(อปท.) ไม่ร ับสัมปทานจ ากห น่วยร าชการ หรือใช้ส ถานะ ส.ส. เข้าไปแทรกแซงการบ รรจุ แต่งตั้ง ข้าราชการ
และในม าตรา 120 ยังบ ัญญัติถ ึงตำ�แหน่ง “ผู้นำ�ฝ่ายค ้านในสภาผู้แทนราษฎร” เหมือนกับรัฐธรรมนูญฉ บับ
พ.ศ. 2534 ส.ส. มอี ำ�นาจห น้าทีเ่สนอร ่างก ฎหมายแ ละก ารพ ิจารณาอ นุมัตกิ ฎหมายแ ละก ารค วบคุมก ารบ ริหาร
ราชการแผ่นดินด ้วยก ารตั้งก ระทู้ถาม การเสนอญ ัตติขอเปิดอ ภิปรายไม่ไว้ว างใจท ั่วไปเพื่อล งม ติไม่ไว้วางใจ
นายกรัฐมนตรี และร ัฐมนตรีเป็นรายบ ุคคลแ ละทั้งค ณะ แต่รัฐธรรมนูญฉ บับน ี้ได้กำ�หนดเงื่อนไขไว้ให้ทำ�ได้
ยากก ว่าทุกฉ บับท ี่ผ่านม า โดยเฉพาะอย่างยิ่งก ารอภิปรายไม่ไว้วางใจน ายกรัฐมนตรี ต้องลงชื่อกันถ ึง 2 ใน