Page 75 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 75

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-65

พรรคการเมือง เป็นต้น แต่ไ​ม่บ​ ัญญัติ​ห้ามก​ าร​เป็นข​ ้าราชการป​ ระจำ� วาระ​การ​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง 6 ปี ครบ 3 ปี ให​้
จับส​ ลาก​ออกค​ รึ่ง​หนึ่ง และม​ ี​การแ​ ต่งต​ ั้งเ​ข้าไป​แทนที่ อำ�นาจห​ น้าที่​สำ�คัญ คือ การพ​ ิจารณา​กฎหมาย​ที่​ผ่าน​มา​
จากส​ ภาผ​ ู้แ​ ทนร​ าษฎร และ​การค​ วบคุม​การบ​ ริหารร​ าชการ​แผ่นดิน ด้วย​การต​ ั้งก​ ระทู้ถ​ าม และก​ ารย​ ื่นญ​ ัตติข​ อ​
เปิดอ​ ภิปราย​ทั่วไป เพื่อใ​ห้ค​ ณะ​รัฐมนตรีแ​ ถลง​ข้อ​เท็จ​จริง โดย​ไม่มี​การล​ ง​มติ

       สภา​ผู้แ​ ทนร​ าษฎร มาจ​ ากก​ าร​เลือกต​ ั้ง​โดยตรงจ​ าก​ประชาชน มีจ​ ำ�นวน 360 คน มีอายุต​ ั้งแต่ 25 ปีข​ ึ้น​
ไป เป็น​สมาชิก​พรรคการเมืองท​ ี่ส​ ่ง​สมาชิก​เข้า​สมัครร​ ับเ​ลือกต​ ั้ง​พรรค​เดียว มีว​ าระ​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง 4 ปี อำ�นาจ​
หน้าที่ส​ ำ�คัญ คือ การเ​สนอแ​ ละพ​ ิจารณาร​ ่างก​ ฎหมาย การนำ�​เสนอร​ ่างก​ ฎหมายต​ ้องใ​ห้พ​ รรคการเมืองท​ ี่ส​ ังกัด​
มีม​ ติใ​ห้เ​สนอไ​ด้ และม​ ี ส.ส. ใน​พรรคเ​ดียวกัน​ลงน​ ามร​ ับรอง​ไม่น​ ้อยก​ ว่า 20 คน และ​อำ�นาจใ​นก​ ารค​ วบคุม​การ​
บริหารร​ าชการ​แผ่นดิน ด้วยก​ าร​ตั้งก​ ระทู้​ถาม และ ส.ส. จำ�นวน 1 ใน 5 ของ​จำ�นวนท​ ั้งหมดเ​ท่า​ที่​มีอ​ ยู่ใ​นส​ ภา
มี​สิทธิ์​เข้าช​ ื่อเ​สนอ​ญัตติข​ อ​เปิด​อภิปราย​ทั่วไป เพื่อ​ลง​มติ​ไม่ไ​ว้ว​ างใจร​ ัฐมนตรี​เป็นร​ ายบ​ ุคคลห​ รือ​ทั้งค​ ณะ มต​ิ
ไม่ไ​ว้​วางใจจ​ ะ​ต้อง​มี​เสียงเ​กินก​ ว่าก​ ึ่งห​ นึ่งข​ อง ส.ส. ทั้งหมด เท่าท​ ี่​มี​อยู่ใ​น​สภา ในม​ าตรา 116 ยัง​บัญญัติใ​ห้ม​ ี
“ผู้นำ�​ฝ่ายค​ ้านใ​น​สภา​ผู้แ​ ทนร​ าษฎร” คือผ​ ู้​ที่​เป็น​หัวหน้า​พรรคการเมือง​ที่​มี ส.ส. มากท​ ี่สุดท​ ี่ไ​ม่​ได้​ร่วม​จัดต​ ั้ง​
รัฐบาล

       สถาบันบ​ ริหาร คือ คณะร​ ัฐมนตรี ประกอบ​ด้วย​นายก​รัฐมนตรี 1 คน พระม​ หา​กษัตริย์​ทรงแ​ ต่งต​ ั้ง
ประธาน​สภา​ผู้​แทนร​ าษฎร​ลง​นาม​รับส​ นองพ​ ระบรมร​ าชโองการแ​ ต่งต​ ั้ง และร​ ัฐมนตรีอ​ ื่น​อีกไ​ม่เ​กิน 48 คน ทำ�​
หน้าที่​บริหาร​ราชการ​แผ่นดิน โดย​ต้อง​เป็น​เพียง​ข้าราชการ​การเมือง คือ จะ​เป็น​ข้าราชการ​ประจำ�​มิได้ และ
ข​ ้อห​ ้าม​ อื่นๆ เช่น การม​ ีต​ ำ�แหน่งใ​นบ​ ริษัท ห้างร​ ้านแ​ ละอ​ งค์ก​ รใ​ดๆ ทีด่​ ำ�เนินธ​ ุรกิจเ​พื่อแ​ สวงหาผ​ ลก​ ำ�ไร เป็นต้น
กอ่ นเ​ขา้ ท​ ำ�​หนา้ ทีต่​ อ้ งแ​ ถลงน​ โยบายต​ อ่ ร​ ฐั สภา โดยไ​มม่ ก​ี ารล​ งม​ ตค​ิ วามไ​วว้​ างใจ และก​ ารท​ �ำ งานต​ อ้ งร​ บั ผ​ ดิ ช​ อบ
​ต่อ​สภา​ผู้​แทน​ราษฎร​ใน​หน้าที่​ของ​รัฐมนตรี และ​รับ​ผิด​ชอบ​ร่วม​กัน​ทั้ง​คณะ​รัฐมนตรี​ต่อ​วุฒิสภา​และ​
สภา​ผู้​แทนร​ าษฎร ใน​อีก​ด้าน​หนึ่ง คณะ​รัฐมนตรีม​ ี​อำ�นาจ​ใน​การย​ ุบส​ ภา​ผู้แ​ ทน​ราษฎร

       สถาบัน​ตุลาการ คือ ศาล​และ​ผู้พ​ ิพากษา มาตรา 186 บัญญัติไ​ว้​ว่า “การ​พิจารณ​ าพ​ ิพากษาอ​ รรถ​คดี​
เป็นอ​ ำ�นาจข​ องศ​ าล ซึ่งต​ ้องด​ ำ�เนินก​ ารต​ ามก​ ฎหมายแ​ ละใ​นพ​ ระป​ รมาภิไธยพ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์” และห​ ้ามก​ ารจ​ ัด​
ตัง้ ศ​ าลข​ ึน้ ใ​หมเ​่ พือ่ พ​ จิ ารณาพ​ พิ ากษาค​ ดใ​ี ดค​ ดห​ี นึง่ หรอื ค​ ดท​ี มี​่ ข​ี อ้ หาจ​ ากฐ​ านใ​ดฐ​ านห​ นึง่ เ​ปน็ การเ​ฉพาะ (มาตรา
188) และก​ ำ�หนดใ​ห้​ผู้​พิพากษาแ​ ละต​ ุลาการ​มี​อิสระ​ใน​การพ​ ิจารณา​พิพากษา​อรรถค​ ดีใ​ห้​เป็น​ไป​ตาม​กฎหมาย
(มาตรา 190) ในม​ าตรา 193 ยังบ​ ัญญัติ​ให้​มี “คณะก​ รรมการต​ ุลาการ” หรือ ก.ต. รับผ​ ิด​ชอบเ​รื่อง​การแ​ ต่ง​ตั้ง
ถอดถอน การเ​ลื่อนเ​งินเ​ดือนผ​ ู้พ​ ิพากษา เพื่อ​ให้​เกิดค​ วาม​เป็นอ​ ิสระ​ของ​ศาล​มาก​ขึ้น

       พรรคการเมือง​และ​การ​เลือก​ตั้ง รัฐธรรมนูญ​บัญญัติ​ให้ “บุคคล​มี​เสรีภาพ​ใน​การ​รวม​กัน​เป็น​
พรรคการเมือง เพื่อด​ ำ�เนินก​ ิจกรรมใ​นท​ างการเ​มือง ตาม​วิถี​ทางการ​ปกครอง​ระบอบ​ประชาธิปไตยอ​ ัน​มีพ​ ระ​
มหาก​ ษัตริยท์​ รงเ​ป็นป​ ระมุข ... ตามบ​ ทบัญญัตแิ​ ห่งก​ ฎหมายว​ า่ ด​ ้วยพ​ รรคการเมือง” (มาตรา 41) ในท​ างป​ ฏิบัต​ิ
กค็​ ือ กฎหมายพ​ รรคการเมืองฉ​ บับท​ ี่ 4 ทีป่​ ระกาศใ​ชเ้​มื่อ พ.ศ. 2524 ซึ่ง​คณะร​ ัฐประหารไ​ม่ไ​ดส้​ ั่งใ​หย้​ กเลิก โดย​
พรรคต​ ้องจ​ ัดท​ ำ�​บัญชที​ รัพย์สินแ​ ละห​ นีส้​ ินแ​ ละแ​ สดงท​ ี่มาท​ ีไ่​ปข​ องร​ ายรับแ​ ละร​ ายจ​ ่ายโ​ดยเ​ปิดเ​ผย และต​ ้องส​ ่ง​
ผู้ส​ มัครร​ ับเ​ลือกต​ ั้งร​ วมก​ ันไ​ม่น​ ้อยก​ ว่า 120 คน และต​ ้องม​ ีผ​ ู้ส​ มัครค​ รบต​ ามจ​ ำ�นวน ส.ส. ที่พ​ ึงม​ ีพ​ ึงไ​ด้ใ​นแ​ ต่ละ​
เขตเ​ลือก​ตั้ง ส่วน​ระบบ​การ​เลือก​ตั้ง​ให้จ​ ัด​สัดส่วน ส.ส. ตาม​จำ�นวน​ประชากร​ใน​แต่ละ​จังหวัด​จนค​ รบ 360 คน
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80