Page 70 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 70

5-60 การเมืองการปกครองไทย

2. 	ภาย​ใต​ร้ ัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2519

       รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ เกิด​จาก​ผล​ของ​การ​รัฐประหาร และ​ได้​จัด​วาง​โครงสร้าง​ทางการ​เมือง​และ​
กำ�หนด​สถาบัน​ทางการ​เมือง​คล้ายคลึง​กับ​รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2475 (ฉบับถาวร) และ​รัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ.
2502 (ฉบับเผด็จการ) เพราะ​นอกจากจ​ ะร​ วมศ​ ูนย์อ​ ำ�นาจ​ทั้ง 3 ด้าน มา​อยู่ท​ ี่น​ ายก​รัฐมนตรี แล้วย​ ัง​ได้​กำ�หนด​
ขั้น​ตอน​การ​พัฒนาการ​เมือง​เป็น 3 ระยะ โดย 4 ปี​แรก ยัง​จำ�กัด​สิทธิ​เสรีภาพ​ทางการ​เมือง ไม่​อนุญาต​ให้​
จดั ต​ ัง้ พ​ รรคการเมอื งแ​ ละไ​มม่ ก​ี ารเ​ลอื กต​ ัง้ ใ​ดๆ ระยะ 4 ปต​ี อ่ ไ​ป จงึ ก​ �ำ หนดใ​หร​้ ฐั สภาม​ ี 2 สภา มาจ​ ากก​ ารเ​ลอื กต​ ัง้ ​
และก​ ารแ​ ต่งต​ ั้ง และร​ ะยะ 4 ปตี​ ่อไ​ป คือ เวลาผ​ ่านไ​ปม​ ากกว่า 8 ปี แล้วจ​ ึงจ​ ะข​ ยายอ​ ำ�นาจข​ องส​ ภาผ​ ูแ้​ ทนร​ าษฎร​
ใหม​้ ส​ี ว่ นบ​ รหิ ารร​ าชการแ​ ผน่ ด​ นิ ม​ ากข​ ึน้ พรอ้ มก​ บั ล​ ดอ​ �ำ นาจข​ องว​ ฒุ สิ ภาล​ งเ​ทา่ ท​ ที​่ �ำ ได้ และ “ถา้ ร​ าษฎรต​ ระหนกั ​
ในห​ น้าทีแ่​ ละค​ วามร​ ับผ​ ิดช​ อบข​ องต​ นท​ ีม่​ ตี​ ่อช​ าตบิ​ ้านเ​มืองใ​นร​ ะบอบป​ ระชาธิปไตยด​ ีแล้ว กอ็​ าจย​ กเลิกว​ ุฒิสภา​
ให้เ​หลือแ​ ต่ส​ ภาผ​ ู้​แทน​ราษฎร”

       ดัง​นั้น ส่วน​ของ​อำ�นาจ​นิติบัญญัติ ที่​มีชื่อ​เรียก​ว่า “สภา​ปฏิรูป​การ​ปกครอง​แผ่นดิน” สมาชิก​
จำ�นวน 300–400 คน จึงม​ า​จาก​การ​แต่งต​ ั้งข​ อง​พระม​ หา​กษัตริย์ แต่ใ​นท​ าง​ปฏิบัติ หัวหน้าแ​ ละก​ ลุ่มผ​ ู้นำ�​ของ​
คณะร​ ัฐประหารเ​ป็นฝ​ ่ายเ​สนอช​ ื่อแ​ ต่งต​ ั้ง และส​ ่วนใ​หญก่​ ม็​ าจ​ ากท​ หาร ตำ�รวจ และ​ข้าราชการพ​ ลเรือน ทำ�​หน้าที​่
ตราก​ ฎหมาย และไ​มม่ อ​ี �ำ นาจใ​นก​ ารค​ วบคมุ แ​ ละต​ รวจส​ อบก​ ารท​ �ำ งานข​ องค​ ณะร​ ฐั มนตรแ​ี ตอ​่ ยา่ งใ​ด คอื ม​ ส​ี ภาพ​
เป็น “สภาต​ รายาง” คือร​ ับรองก​ ารใ​ช้อ​ ำ�นาจ​ของฝ​ ่ายบ​ ริหารม​ ากกว่า

       อำ�นาจ​ทางการ​เมือง​ส่วน​ใหญ่​และ​เป็น​ส่วน​สำ�คัญ จึง​มา​รวม​ศูนย์​อยู่​ที่​นายก​รัฐมนตรี เพราะ​มี​
บทบัญญัติข​ อง​มาตรา 21 ที่ก​ ำ�หนด​ไว้​ใน​ลักษณะเ​ดียวกัน​กับ​มาตรา 17 ของร​ ัฐธรรมนูญฯ​ พ.ศ. 2515 และ
พ.ศ. 2502 คือเ​น้น​การกร​ ะ​ทำ�​ใดๆ ก็ตาม​ที่​กระทบก​ ับ “ความ​มั่นคงข​ องช​ าติ” ให้​นายกร​ ัฐมนตรีส​ ั่งก​ ารแ​ ละ​
ใช้​อำ�นาจ​ได้​ทันที และ​เขียน​ให้​ใช้​กับ​การก​ระ​ทำ�​ที่​เกิด​ขึ้น​ก่อน​การ​ประกาศ​ใช้​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ เหมือน​กับ​
รัฐธรรมนูญฯ​ พ.ศ. 2515 ด้วย

       สถาบัน​พระ​มหา​กษัตริย์ ก็​ยัง​มี​พระ​ราช​อำ�นาจ​ใน​เชิง “พิธีการ” คือ ไม่ใช่​อำ�นาจ​ที่แท้​จริง ยกเว้น​
ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยว​กับ​คณะ​องคมนตรี และ​ตาม​ธรรมเนียม​ปฏิบัติ​อื่นๆ ใน​ส่วน​ของ​ตุลาการ​ก็​ยัง​คง​ใช้​ระบบ​ศาล​
ยุติธรรมแ​ ละบ​ ัญญัติใ​ห้ม​ ีอ​ ิสระใ​นก​ ารพ​ ิจารณาอ​ รรถค​ ดีต​ ่างๆ แต่ต​ ามโ​ครงสร้างแ​ ล้วย​ ังเ​กี่ยวข้องเ​ชื่อมโ​ยงอ​ ยู​่
กับร​ ะบบ​ราชการ คือ กระทรวง​ยุติธรรม​อย่าง​มาก จน​อาจ​ทำ�ให้​นักการ​เมือง​ที่​ดำ�รง​ตำ�แหน่ง​รัฐมนตรี​ว่าการ​
กระทรวงย​ ุติธรรมส​ ามารถ​เข้าไป​แทรกแซงก​ ารท​ ำ�งาน​ของ​ศาล​และผ​ ู้พ​ ิพากษา​ได้

       โครงสร้าง​ทางการ​เมือง​จึง​โน้ม​เอียง​ไป​สู่​แนวทาง​ระบอบ​เผด็จการ​โดย​บุคคล​ผสม​ผสาน​กับ​
คณะบ​ ุคคล คือ ชนชั้นน​ ำ�​ทหารท​ ี่มาจ​ ากก​ าร​ยึดอ​ ำ�นาจแ​ ละ​เข้าไปด​ ำ�รง​ตำ�แหน่ง​ใน​คณะ​รัฐมนตรี ส่วน​สถาบัน​
ทางการเ​มอื งต​ า่ งๆ กโ​็ นม้ เ​อยี งไ​ปใ​นแ​ นวทางเ​ดยี วกนั เพราะไ​ดป​้ ดิ ก​ ัน้ ก​ ารม​ ส​ี ว่ นร​ ว่ มท​ างการเ​มอื งข​ องป​ ระชาชน​
ไว้​เกือบท​ ั้งหมด ลักษณะ​ทั่วๆ ไปจ​ ึงค​ ล้ายคลึง​กับร​ ัฐธรรมนูญ​ฯ พ.ศ. 2502 และ พ.ศ. 2515
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75