Page 69 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 69

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-59

       โครงสร้าง และส​ ถาบันท​ างการ​เมืองก​ าร​ปกครอง​ภายใ​ต้ร​ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2517 จึงโ​น้ม​เอียงไ​ป​สู่​
แนวทาง​ประชาธิปไตย​อย่าง​มาก เพราะ​นอกจาก​จะ​เปิด​กว้าง​การ​มี​ส่วน​ร่วม​ทางการ​เมือง​ของ​ประชาชน​ผ่าน​
กรอบข​ องส​ ิทธิ เสรีภาพท​ างการเ​มืองด​ ้านต​ ่างๆ แล้ว ยังเ​ปิดโ​อกาสใ​หส้​ ามารถจ​ ัดต​ ั้งพ​ รรคการเมืองไ​ดค้​ ่อนข​ ้าง​
ง่าย ในอ​ ีกด​ ้านห​ นึ่ง กพ็​ ยายามจ​ ำ�กัดก​ ารเ​ข้าไปม​ ตี​ ำ�แหน่งท​ างการเ​มืองข​ องท​ หารแ​ ละข​ ้าราชการป​ ระจำ� ประเด็น​
หลัง​นี้ อาจ​เป็น​สาเหตุ​สำ�คัญ​อย่าง​หนึ่ง​ที่​ทหาร​และ​ข้าราชการ​ประจำ�​ได้​เข้าไป​แทรกแซง​ทางการ​เมือง​ใน​ที่สุด
โดย​โครงสร้าง และ​สถาบันท​ างการเ​มืองด​ ังก​ ล่าว​นี้ อาจ​เขียน​เป็นแ​ ผนภาพไ​ด้​ดังนี้ คือ

ส่วน​บน                                     พระม​ หา​กษัตริย์

                รัฐสภา                        คณะร​ ัฐมนตรี                       ตุลาการ
               วุฒิสภา                      นายกร​ ัฐมนตรี 1 คน               ศาลแ​ ละ​ผู้พ​ ิพากษา

            สภา​ผู้แ​ ทนร​ าษฎร             รัฐมนตรี 15–25 คน

ส่วนล​ ่าง                        พรรค                           คณะ​ตุลาการ
      พรรค                       การเมือง                        รัฐธรรมนูญ
     การเมือง
                                  พรรค      ระบบ​ราชการ
      พรรค                       การเมือง
     การเมือง                                ส่วน​กลาง

               ระบบเ​ลอื กต​ ้งั            ส่วนภ​ ูมิภาค        ส่วน​ท้อง​ถิ่น
                                              จังหวัด
กลุ่มผ​ ล                         กลุ่ม​ผล    อำ�เภอ
ประโยชน์                          ประโยชน์    ตำ�บล
                                              หมู่บ้าน

ส่วนล​ ่าง                                  ประชาชน

ภาพ​ท่ี 5.9 โครงสร้าง และ​สถาบ​ นั ท​ างการเ​มอื ง​การ​ปกครอง​ภายใ​ต้​รฐั ธรรมนูญฯ พ.ศ. 2517
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74