Page 66 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 66
5-56 การเมืองการปกครองไทย
สถาบันนิติบัญญัติ เรียกว่า “สภานิติบัญญัติแห่งชาติ” สมาชิกมาจากการแต่งตั้งทั้งหมด และ
ข้าราชการประจำ�ก็สามารถเข้าดำ�รงตำ�แหน่งได้ รวมทั้งเป็นรัฐมนตรีได้ สมาชิกสภานิติบัญญัติสามารถเป็น
รัฐมนตรีไ ด้ในเวลาเดียวกัน
สถาบันบริหาร คือ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี มี
อำ�นาจหน้าที่ในการบริหารราชการแ ผ่นดิน และน ายกรัฐมนตรียังมี “อำ�นาจเฉพาะ” ในมาตรา 17 เช่นเดียว
กับร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2502 แต่ในครั้งน ี้ได้เขียนขอบเขตอำ�นาจก ว้างข วางออกไปถึงก ารกร ะท ำ�อันเป็นการ
บ่อนทำ�ลายเศรษฐกิจของประเทศ หรือการก่อกวน หรือคุกคามความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรือท ำ�ลายทรัพยากรของประเทศ หรือบั่นทอนอนามัยของประชาชน ก็ถ ือเป็นการกระทำ�ที่เป็น
ความผ ิดร ้ายแ รงเท่ากับก ารกร ะท ำ�อันเป็นการบ ่อนท ำ�ลายค วามม ั่นคงข องช าติ ยิ่งไปก ว่าน ั้นในม าตราน ี้ย ังได้
บัญญัติให้มีผ ลย ้อนหลังก ับการกระทำ�ต่างๆ ดังก ล่าวที่เกิดขึ้นก่อนก ารป ระกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ด้วย
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้จึงมีลักษณะการรวม
ศูนย์อำ�นาจม าอยู่ที่นายกร ัฐมนตรี ซึ่งในท างปฏิบัติก็ค ือ จอมพลถนอม กิตติข จร หัวหน้าค ณะร ัฐประหารได้
เข้าด ำ�รงตำ�แหน่งน ายกร ัฐมนตรีห ลังจากประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ทำ�ให้ผู้นำ�คณะรัฐประหารส ามารถปกครอง
ในแ บบเผด็จการบ ุคคลได้เกือบเต็มท ี่ เพราะค วบคุมสภาได้ห มด และสามารถใช้อ ำ�นาจพ ิเศษตามม าตรา 17
ได้เกือบ “ครอบจ ักรวาล” โดยที่ไม่มีพ รรคการเมืองฝ ่ายค ้านห รือ ส.ส. มาค อยค วบคุมและต รวจส อบ เพราะ
ไมม่ กี ารเลอื กต ัง้ โดยป ระชาชน นอกจากน ั้นย ังโน้มเอียงจ ะค วบคมุ ก ารเปลีย่ นแปลงท างการเมืองในอ นาคตได้
ด้วย เพราะค ณะรัฐมนตรีเป็นฝ่ายจัดท ำ�ร่างร ัฐธรรมนูญฉ บับใหม่ และนำ�เสนอให้ส ภาน ิติบัญญัติพ ิจารณา
อย่างไรก็ตาม สภาพการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจและการเมืองของไทยในยุคนี้ ก็
เปลี่ยนแปลงแ ตกต ่างไปจากย ุค พ.ศ. 2502 มาก จากเหตุผลหลายๆ ด้าน รวมท ั้งก ารที่ร ัฐบาลส มัยจ อมพล
สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติอย่างเป็นระบบด้วยการประกาศใช้
แผนพัฒนาที่นำ�แบบอย่างมาจากสหรัฐอเมริกาครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2504 ดังนั้น การหันมาเน้นด้านความ
มั่นคงข องชาติ (national security) และพ ัฒนาด ้านเศรษฐกิจ (economic development) แต่ป ิดกั้นการม ี
สว่ นร ว่ มท างการเมืองข องป ระชาชน (political participation) จึงไดก้ ่อเกิดผ ลกร ะท บม าส ูค่ วามไมพ่ อใจแ ละ
ผิดห วังข องป ระชาชนอ ย่างก ว้างข วาง “กลุ่มแ นวห น้า” ในเขตเมืองท ี่ค ่อนข ้างม ีค วามค ิดก ้าวหน้า คือ “ปัญญา
ชน” ระดับต่างๆ โดยเฉพาะอ ย่างยิ่ง นักวิชาการ นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยข องร ัฐ จึงได้ออกม าคัดค้าน
จนนำ�ไปสู่เหตุการณ์ร ุนแรง “14–16 ตุลาคม พ.ศ. 2516” และนำ�มาสู่ก ารส ิ้นสุดระบอบเผด็จการทหาร และ
เผด็จการบ ุคคลภ ายใต้ก ารนำ�ของ จอมพลถ นอม กิตติขจร
หลังจ ากศ ึกษาเนื้อหาส าระเรื่องท ี่ 5.2.3 แล้ว โปรดป ฏิบัติกิจกรรม 5.2.3
ในแ นวการศ ึกษาหน่วยท ี่ 5 ตอนท ี่ 5.2 เรื่องที่ 5.2.3