Page 61 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 61
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-51
สถาบันบ ริหาร คือ คณะร ัฐมนตรี ประกอบด ้วยนายกร ัฐมนตรี 1 คน พระม หากษัตริย์ท รงแ ต่งต ั้ง
และร ัฐมนตรี จำ�นวน 14–28 คน ข้าราชการป ระจำ�สามารถด ำ�รงต ำ�แหน่งร ัฐมนตรไีด้ สมาชิกส ภาผ ูแ้ ทนร าษฎร
ที่เป็นรัฐมนตรีโดยไม่ขาดจากสมาชิกภาพแต่ไม่สามารถออกเสียงลงคะแนนได้ในการประชุมสภาผู้แทน
ราษฎร คณะร ัฐมนตรีจ ะต ้องขอรับความไว้วางใจจากส ภาก ่อนเข้าทำ�หน้าที่ และต้องพ ้นจ ากตำ�แหน่งถ ้าสภา
ผู้แทนร าษฎรเสียงข ้างม ากไม่ไว้วางใจ
สถาบันต ุลาการ ยังค งย ึดห ลักก ารร ะบบศ าลเดียว คือ ศาลย ุติธรรม และบ ัญญัตถิ ึงค วามม อี ิสระข อง
ศาลในการพิจารณาพิพากษาอ รรถคดีให้เป็นไปต ามกฎหมาย
สถาบันพรรคการเมืองและการเลือกต ั้ง มีก ำ�หนดไว้คล้ายคลึงกับร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489 แต่ไม่มี
การกำ�หนดม าตรการคุ้มครองก ารจัดตั้งและดำ�เนินงานของพ รรคการเมืองเหมือนร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489
ผู้นำ�ทางการเมืองที่มีบทบาททางการเมืองอยู่ในสภา และรัฐบาลได้จัดตั้งพรรคการเมืองขึ้น และส่งผู้สมัคร
ในก ารเลือกต ั้งทั่วไปที่ม ีขึ้น 2 ครั้ง ใน พ.ศ. 2500
การเลือกต ั้งภ ายใต้ร ัฐธรรมนูญฉ บับน ี้ ยังม ีข ้อจ ำ�กัดอ ยู่ม าก เพราะย ังไม่เปิดโอกาสให้ม ีก ารเลือกต ั้ง
สมาชิกส ภาผ ู้แ ทนร าษฎรท ั้งหมด และพ รรคการเมืองเกือบท ั้งหมดก ็จ ัดต ั้งข ึ้นจ ากก ลุ่มช นชั้นน ำ�ทางก ารเมือง
ทีม่ บี ทบาทในส ภาแ ละร ัฐบาล ประชาชนส ่วนใหญย่ ังข าดค วามส นใจห รือไมก่ ระตือรือร้นท ีจ่ ะเข้าไปม สี ่วนร ่วม
ทางการเมืองในการเลือกตั้งทั่วไปครั้งสำ�คัญในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 จอมพล ป. พิบูลสงคราม
หัวหน้าพ รรคเสรีมนังคศิลา และพล.ต.อ.เผ่า ศรียาน นท์ เลขาธิการพ รรคเสรีมนังคศิลา ได้ใช้ความพ ยายาม
และกลวิธีหลายๆ อย่างเพื่อเอาชนะการเลือกตั้งและกลับเข้าไปมีตำ�แหน่งทางการเมืองต่อเนื่องไปอีกหลาย
ปี จนนำ�ไปสู่ก ารทุจริตเลือกตั้งในห ลากห ลายร ูปแ บบ ทั้ง “บัตรผี พลร่ม ไพ่ไฟ เวียนเทียน” การแ จกส ิ่งของ
การเกิดไฟดับขณะนับค ะแนน และการคาดการณ์ว่า พรรคเสร ีม นังคศิลาใช้เงินในการเลือกตั้งครั้งนี้ถึงอย่าง
น้อย 20 ล้านบ าท (1 บาท = 0.05 ดอลลาร์ส หรัฐ) หรือม ากกว่าพ รรคอ ื่นๆ ถึงราว 1 เท่า (David A.Wilson,
1962: 29-32)
การได้รับชัยชนะของพรรคเสรีมนังคศิลาจนได้รับเสียงข้างมากในสภาได้นำ�ไปสู่การเดินขบวน
ประท้วงของนิสิต นักศึกษาของประชาชน และส่งผลกระทบไปสู่ความแตกแยกรุนแรงขึ้นระหว่างกลุ่ม
ชนชั้นน ำ� 2 กลุ่มใหญ่ในพ รรคน ี้ คือ ระหว่างฝ่าย “ซอยราชครู” ที่มี จอมพลผ ิน ชุณหะว ัณ และ พล ต.อ.เผ่า
ศรีย าน นท์ เป็นผ ู้นำ� กับฝ ่าย “สี่เสาเทเวศร์” ที่ม ี จอมพ ลส ฤษดิ์ ธนะร ัชต ์ ผู้บ ัญชาการท หารบ กเป็นผ ู้นำ� จนใน
ที่สุด จอมพ ลส ฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้น ำ�ทหารเข้าย ึดอ ำ�นาจ “รัฐประหาร” รัฐบาล ในว ันท ี่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500
แต่ก็ย ังให้รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2495 มีผ ลบ ังคับใช้ต ่อไป จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2501 จึงได้ท ำ�รัฐประหาร
อีกครั้งห นึ่ง เพื่อเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองการป กครองไปสู่แ นวทางที่ต ้องการ เพราะ
ครั้งน ี้ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้เข้าด ำ�รงตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรีเอง และอยู่ในต ำ�แหน่งจ นถึงอสัญกรรม
ในป ลายปี 2506