Page 56 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 56
5-46 การเมืองการปกครองไทย
4. ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฯ (ฉบับช่ัวคราว) พ.ศ. 2490
โครงสร้าง และสถาบันท างการเมืองการป กครอง ตามรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2490 ในส ่วนหลักๆ ยัง
คงยึดหลักการเดียวกันกับรัฐธรรมนูญทั้ง 3 ฉบับก่อนหน้านี้ แต่ไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับพรรคการเมือง
ส่วนสาระสำ�คัญและรายละเอียดเกี่ยวกับที่มาและอำ�นาจหน้าที่มีความแตกต่างกันหลายอย่าง นอกจากนั้น
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังได้กำ�หนดให้มี “คณะอภิรัฐมนตรี” ขึ้นมาทำ�หน้าที่สำ�คัญอยู่ภายในโครงสร้างทาง
การเมืองอีกส ่วนหนึ่งด้วย
สถาบันพระม หากษัตริย์ ยังค งม ีพ ระราชอ ำ�นาจคล้ายคลึงกับร ัฐธรรมนูญฉ บับก ่อนนี้ และพ ระราช-
อำ�นาจใหม่บางอย่าง คือ การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา และแต่งตั้ง
คณะอภิรัฐมนตรี รวมทั้งมีพระราชอำ�นาจแต่งตั้งอภิรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งทำ�หน้าที่ผู้สำ�เร็จราชการแทน
พระองค์ ขณะที่มิได้ป ระทับอยู่ในร าชอาณาจักร หรือไม่อาจทรงบริหารพระราชภารกิจด้วยส าเหตุใดสาเหตุ
หนึ่ง “คณะอ ภิร ัฐมนตรี” มีจำ�นวน 5 คน พระมหาก ษัตริย์ท รงแต่งต ั้งจ ากข้าราชการประจำ�ที่ม ีอายุราชการ
ไม่น้อยกว่า 25 ปี หรือเคยดำ�รงตำ�แหน่งอย่างน้อยระดับอธิบดี หรือเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมาแล้ว
ไม่น ้อยกว่า 4 ปี มีอ ำ�นาจหน้าที่บริหารร าชการในพระองค์และถ วายค ำ�ปรึกษาแด่พ ระมหากษัตริย์
สถาบันนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภา สภาผู้แทนราษฎร มาจากการเลือกตั้งของ
ประชาชนตามสัดส่วนของประชากรในแต่ละจังหวัด คุณสมบัติสำ�คัญ มีอายุไม่ตํ่ากว่า 35 ปี ต้องไม่เป็น
ข้าราชการประจำ� อยู่ในตำ�แหน่งว าระ 4 ปี สมาชิกส ภาผ ู้แ ทนราษฎรจำ�นวน 25 คน สามารถเสนอญัตติขอ
เปดิ อ ภปิ รายท ั่วไปเพือ่ ล งม ตไิ มไ่ วว้ างใจค ณะร ัฐมนตรที ัง้ ค ณะห รอื ร ายบ ุคคลได้ นอกเหนอื จ ากห น้าทีท่ างด า้ น
การต ราก ฎหมาย วุฒิสภา มาจ ากการแต่งตั้งข องพระมหากษัตริย์ จำ�นวนเท่ากับสมาชิกสภาผู้แ ทนร าษฎร มี
วาระด ำ�รงต ำ�แหน่ง 6 ปี แต่ในร ะยะแ รกเมื่อค รบ 3 ปี ให้จ ับส ลากอ อกค รึ่งห นึ่งเพื่อแ ต่งต ั้งใหม่มีอ ำ�นาจห น้าที่
ในการพิจารณาก ฎหมายที่ผ ่านม าจากสภาผู้แ ทนร าษฎร และถ้ายังไม่มีส ภาผ ู้แทนร าษฎร ก็สามารถทำ�หน้าที่
รัฐสภาได้ ทั้งนี้ ไม่มีบทบัญญัติห้ามข้าราชการประจำ�เป็นสมาชิกว ุฒิสภา
สถาบันบ ริหาร คือ คณะร ัฐมนตรี ประกอบด ้วยน ายกรัฐมนตรี 1 คน และร ัฐมนตรี จำ�นวน 15–25
คน พระมหาก ษัตริย์ท รงแต่งต ั้ง ประธานค ณะอภิร ัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพ ระบรมราชโองการแต่งต ั้ง
นายกร ัฐมนตรี คณะร ัฐมนตรีต้องไม่เป็นข้าราชการป ระจำ� ในการเข้าทำ�หน้าที่บ ริหารร าชการแผ่นดิน ต้องได้
รับค วามไว้ว างใจจากรัฐสภา โดยทำ�หน้าที่ด้วยความรับผิดชอบร่วมกัน และต้องล าออกถ ้าไม่ได้รับค วามไว้
วางใจจ ากรัฐสภา
สถาบันตุลาการ ได้รับการรับรองความเป็นอิสระของศาลในการใช้อำ�นาจทางตุลาการ คือ การ
พิจารณาพ ิพากษาอ รรถค ดีต ่างๆ ภายใต้ก ฎหมายแ ละในพ ระป รมาภิไธยข องพ ระม หาก ษัตริย์ โดยผ ู้พ ิพากษา
มอี สิ ระในก ารพ จิ ารณาพ พิ ากษาค ดใี หเ้ ปน็ ไปต ามก ฎหมาย สว่ นก ารจ ะจ ดั ต ัง้ ศ าลข ึน้ ใหมเ่ พือ่ พ จิ ารณาพ พิ ากษา
คดีใดคดีหนึ่งหรือข้อหาฐ านใดฐานห นึ่งโดยเฉพาะแทนศาลธรรมดาจะก ระทำ�มิได้
รัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยรัฐสภา 3 ครั้ง ครั้งแรกแก้ไขวิธีการเลือกตั้งสมาชิก
สภาผ ู้แ ทนร าษฎร ครั้งที่ส อง เกี่ยวก ับก ำ�หนดเวลาในก ารป ระกาศใช้ร ัฐธรรมนูญฉ บับถ าวร และว ิธีก ารในก าร
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับถ าวร โดยกำ�หนดให้ม ีสภาร ่างร ัฐธรรมนูญเป็นผู้ย กร ่างให้แ ล้วเสร็จภายใน 180 วัน เพื่อ
เสนอให้ร ัฐสภาพิจารณา และค รั้งท ี่สาม แก้ไขการให้ความค ุ้มครองแก่สมาชิกสภาร ่างร ัฐธรรมนูญ