Page 58 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 58
5-48 การเมืองการปกครองไทย
วุฒิสภาชุดท ี่ด ำ�รงต ำ�แหน่งอ ยูย่ ังค งด ำ�รงต ำ�แหน่งอยูต่ ่อไป มีอ ำ�นาจหน้าที่ในก ารย ับยั้งก ฎหมายทีผ่ ่านม าจ าก
สภาผู้แทนราษฎร แต่ไม่มีอำ�นาจลงมติไม่ไว้วางใจรัฐบาล ในมาตรา 74 กำ�หนดให้ประธานวุฒิสภาเป็น
ประธานร ัฐสภา เมื่อป ระชมุ ร ่วมก บั ส ภาผ แู้ ทนร าษฎรในฐ านะร ัฐสภา ส่วนส ภาผ แู้ ทนร าษฎรม าจ ากก ารเลอื กต ั้ง
โดยตรงของประชาชน จำ�นวนตามสัดส่วนประชากร 150,000 คน ต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)
1 คน มีว าระด ำ�รงต ำ�แหน่ง 4 ปี มีอำ�นาจห น้าที่ท ั้งด้านน ิติบัญญัติ และก ารต รวจสอบ ควบคุมก ารท ำ�งานของ
รัฐบาล อย่างไรก็ตาม ในระยะแ รก ยังเปิดทางให้ ส.ส. ชุดเดิมย ังค งเป็น ส.ส. ต่อไปจ นค รบวาระ และได้ม ีก าร
เลือกต ั้งเพิ่มตามจ ำ�นวนแ ละสัดส่วนประชากรอ ีก 21 คน ในวันท ี่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2492 ใน 19 จังหวัด
รฐั ธรรมนญู ไดบ้ ญั ญตั หิ า้ มส มาชกิ ร ฐั สภา รวมท ัง้ ร ฐั มนตรมี ตี �ำ แหนง่ ในร ฐั วสิ าหกจิ หรอื ร บั ส มั ปทาน
จากหน่วยง านราชการหรือร ับประโยชน์อ ื่นใดจ ากร ัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษ และห ้ามสมาชิกว ุฒิสภา (ส.ว.) และ
ส.ส. เป็นข ้าราชการป ระจำ�
สถาบ นั บ รหิ าร หรอื ค ณะร ฐั มนตรี ประกอบด ว้ ยนายกร ฐั มนตรี 1 คน และร ฐั มนตรี จ�ำ นวน 15–25 คน
ประธานร ัฐสภา (ประธานวุฒิสภา) ลงนามรับสนองพ ระบรมราชโองการแ ต่งตั้งน ายกร ัฐมนตรี คณะร ัฐมนตรี
จะเป็นข ้าราชการป ระจำ�มิได้ ห้ามท ำ�การค ้าห รือร ับผ ลป ระโยช นใ์ดๆ จากบ ริษัทห รืออ งคก์ รใดๆ ทีด่ ำ�เนินธ ุรกิจ
เพื่อแสวงหาก ำ�ไร เหตุนี้ในท างป ฏิบัติ คณะรัฐมนตรีเกือบทั้งหมดจึงม าจ ากสมาชิกรัฐสภา อำ�นาจหน้าที่โดย
ทั่วไปก ็ค ือ การกำ�หนดนโยบายและควบคุมการบ ริหารราชการแ ผ่นดินข องห น่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล
สถาบันต ุลาก ร คือ ศาลแ ละผ ูพ้ ิพากษา ยังค งเป็นร ะบบศ าลเดี่ยว คือ ศาลย ุติธรรม ยังค งย ึดห ลักก าร
เดียวกันกับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489 คือ ความมีอิสระของศาลและผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษา
อ รรถค ดตี ่างๆ ตามก ฎหมาย ห้ามฝ ่ายบ รหิ ารจ ัดต ั้งศ าลพ เิ ศษข ึ้นใหมเ่พื่อพ ิจารณาค ดใีดค ดหี นึง่ ห รอื ท ีม่ ขี ้อหา
ฐานใดฐ านห นึ่งโดยเฉพาะแ ทนศาลเดิมท ี่มีอยู่
สถาบนั พ รรคการเมอื งแ ละก ารเลอื กต ัง้ รฐั ธรรมนญู ฉ บบั น กี้ ไ็ ดบ้ ญั ญตั ไิ วค้ ลา้ ยคลงึ ก บั ร ฐั ธรรมนญู ฯ
พ.ศ. 2489 คือเปิดโอกาสให้ประชาชนสามารถจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นได้ เพื่อเข้าไปมีส่วนร่วมในทาง
การเมอื ง รวมท ัง้ ก ารใหส้ ทิ ธเิ ลอื กต ัง้ แ กป่ ระชาชนท มี่ อี ายตุ ัง้ แต่ 20 ปขี ึน้ ไป ในอ กี ด า้ นห นึง่ ก บ็ ญั ญตั หิ า้ มเอกชน
คณะบุคคล และพรรคการเมืองใช้กำ�ลังทหารเป็นเครื่องมือทางการเมือง และห้ามบุคคลอื่นในสังกัดฝ่าย
ทหารที่ยังรับราชการอ ยู่เป็นเจ้าหน้าที่และสมาชิกพ รรคการเมือง หรือแ สดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมือง ใน
ระดับท ้องถ ิ่น ยังคงม ีเพียงส ุขาภิบาลกับเทศบาลและย ังค งอ ยู่ใต้การค วบคุม ดูแลอย่างใกล้ชิดของก ระทรวง
มหาดไทย
โครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองต ามร ัฐธรรมนูญฉ บับน ี้ จึงเน้นอ ำ�นาจห น้าทีไ่ปอ ยูท่ ี่
สถาบันพ ระม หาก ษัตริย์ม ากข ึ้น และได้เปิดโอกาสให้ก ับส ถาบันทางการเมืองในโครงสร้างส่วนก ลางแ ละส ่วน
ล่างเพิ่มขึ้น และส ามารถเขียนเป็นแผนภาพได้ด ังนี้