Page 62 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 62
5-52 การเมืองการปกครองไทย
7. ภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฯ พ.ศ. 2502
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองภายใต้ “ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร
พ.ศ. 2502” เปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจ ากรัฐธรรมนูญ 6 ฉบับ ก่อนหน้าน ี้เกือบส ิ้นเชิง เพราะม ีก ารร วมศูนย์
อำ�นาจไปอยู่ท ี่นายกร ัฐมนตรี ในฐ านะประมุขฝ่ายบ ริหาร โดยไม่มีการต รวจส อบและถ ่วงด ุลอ ำ�นาจใดๆ จาก
สภา เพราะเป็นเพียงสภาที่กำ�หนดให้เป็น “สภาร่างรัฐธรรมนูญ” และรับทราบถึงการบริหารงานของนายก
รัฐมนตรีแ ละคณะร ัฐมนตรีเท่านั้น พรรคการเมืองแ ละก ารเลือกต ั้งไม่มีการบ ัญญัติไว้ในร ัฐธรรมนูญ เพราะ
รัฐธรรมนูญมีเนื้อหาเพียง 20 มาตรา และม ีลักษณะเป็นรัฐธรรมนูญช ั่วคราว บังคับใช้เพื่อรอการประกาศ
ใช้ร ัฐธรรมนูญฉบับใหม่ แต่ในทางป ฏิบัติจ ริง ได้ม ีก ารบ ังคับใช้ถึง พ.ศ. 2511 หรือกว่า 9 ปี และเกิดร ัฐบาล
เผด็จการท หาร ภายใต้ผ ู้นำ�ทหาร 2 คน คือ จอมพ ลสฤษดิ์ ธนะรัชต ์ (พ.ศ. 2502–2506) และจ อมพลถ นอม
กิตติข จร (พ.ศ. 2506–2511)*
สถาบนั พ ระม หาก ษตั รยิ ์ มพี ระร าชอ �ำ นาจในก ารแ ตง่ ต ัง้ ส มาชกิ ส ภาร า่ งร ฐั ธรรมนญู และแ ตง่ ต ัง้ น ายก
รัฐมนตรี แต่ในทางป ฏิบัติจ ริง ฝ่ายผู้นำ�ทหารที่ท ำ�รัฐประหารเป็นฝ ่ายได้รับต ำ�แหน่งน ายกร ัฐมนตรี คัดเลือก
บุคคลให้เข้าเป็นส มาชิกส ภาร่างรัฐธรรมนูญ และพระราชอ ำ�นาจให้ร ัฐมนตรีพ ้นจ ากต ำ�แหน่ง
สถาบันรัฐสภา รัฐธรรมนูญกำ�หนดให้สภาร่างรัฐธรรมนูญที่มีสมาชิก 240 คน มาจากการแต่งตั้ง
ทำ�หน้าที่รัฐสภา โดยเน้นอำ�นาจหน้าที่ในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ไม่ใช่หน้าที่ทางด้านนิติบัญญัติหรือ
การตรากฎหมายเป็นหลัก และในความเป็นจริง ก็ปรากฏว่าสมาชิกสภาเกือบทั้งหมดเป็นข้าราชการทหาร
และข ้าราชการพลเรือน
สถาบันบ ริหาร หรือค ณะร ัฐมนตรี ประกอบด ้วยนายกร ัฐมนตรี 1 คน ที่พ ระม หาก ษัตริย์ท รงแ ต่งต ั้ง
และรัฐมนตรีจำ�นวน “ตามอำ�นาจที่สมควร” หรืออาจตีความได้ว่า ตามที่นายกรัฐมนตรี (จอมพลสฤษดิ์
ธนะร ัชต์ และคนต ่อม าค ือ จอมพลถ นอม กิตติข จร) จะเห็นสมควร โดยห ้ามไม่ให้ดำ�รงตำ�แหน่งสมาชิกสภา
ในเวลาเดียวกัน มีอ ำ�นาจห น้าที่ในก ารบ ริหารร าชการแ ผ่นดิน แต่อ ำ�นาจท ี่ส ำ�คัญท ี่สุด บัญญัติไว้ในม าตรา 17
ใหน้ ายกร ัฐมนตรขี อมต คิ ณะร ัฐมนตรใีชอ้ ำ�นาจส ั่งก าร หรือก ระทำ�การใดๆ ตามท ีเ่ห็นส มควรเพื่อป ระโยชนใ์น
การระงับหรือปราบปรามการกระทำ�อันเป็นการบ่อนทำ�ลาย ก่อกวน หรือคุกคามความสงบที่เกิดขึ้นภายใน
หรือม าจากภายนอกราชอาณาจักร และเมื่อดำ�เนินการไปแ ล้วก ็แจ้งให้ก ับสภาร ับทราบ
ถ้าจ ะต ีความให้ช ัดเจนและพ ิจารณาก ารป ฏิบัติท ี่เกิดข ึ้นจ ริงในเวลาต ่อม าก ็ค ือ การกำ�หนดให้อ ำ�นาจ
ของส ถาบันน ิติบัญญัติ อำ�นาจของส ถาบันบริหาร และอำ�นาจข องสถาบันตุลาการ มารวมอยู่กับการต ัดสินใจ
ในก ารบังคับใช้โดยนายกร ัฐมนตรี โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่ง คือ จอมพ ลส ฤษดิ์ ธนะรัชต ์ โดยตรง
*จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ อยู่ในตำ�แหน่งนายกรัฐมนตรีระหว่าง พ.ศ. 2501–2502 ในฐานะผู้นำ� “คณะปฏิวัติ” และใช้
คำ�สั่งแ ละป ระกาศค ณะป ฏิวัติเป็นก ฎหมายสูงสุด ส่วนจอมพลถ นอม กิตติขจร ดำ�รงต ำ�แหน่งน ายกร ัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. 2511–2514
ภายใตร้ ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2511 และในช ่วง พ.ศ. 2514–2515 จากก ารเป็นผ ู้นำ�คณะป ฏิวัตแิ ละใชป้ ระกาศแ ละค ำ�สั่งข องค ณะป ฏิวัตเิป็น
กฎหมายส ูงสุด แต่ในช ่วง พ.ศ. 2515–2516 เป็นน ายกร ัฐมนตรีภ ายใต้ร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2515