Page 57 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 57
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-47
โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองตามรัฐธรรมนูญฉบับนี้เปลี่ยนแปลงไปจาก
รัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ ที่สำ�คัญ คือ ในส่วนของส ถาบันพ ระมหาก ษัตริย์ คือ กำ�หนดให้ม ีค ณะอภิรัฐมนตรี
มาท ำ�หน้าที่ “ถวายค ำ�ปรึกษาแ กพ่ ระม หาก ษัตริย์ เพื่อป ระโยชนแ์ กป่ ระเทศช าตทิ ุกส าขา” รวมท ั้งก ารท ำ�หน้าที่
เป็นผู้สำ�เร็จร าชการแ ทนพระองค์ และก ารก ำ�หนดให้ม ีสภาร ่างร ัฐธรรมนูญ ที่ม ีสมาชิกจำ�นวน 40 คน เพื่อจัด
ทำ�รัฐธรรมนูญฉ บับใหม่ เพราะรัฐธรรมนูญฉ บับนี้ระบุชื่อไว้ว่า “รัฐธรรมนูญแ ห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ชั่วคราว) พ.ศ. 2490” ที่เกิดขึ้นห ลังจ ากก ารรัฐประหารข องผู้นำ�ทหาร โดยก ารนำ�ของ พล.ท.ผิน ชุณหะวัณ
และจอมพล ป. พิบูลสงคราม รัฐธรรมนูญฉบับนี้จึงไม่ให้ความสำ�คัญกับสถาบันทางการเมืองที่เป็น
พื้นฐ านการส ่งเสริมก ารมีส ่วนร ่วมท างการเมืองของประชาชนม ากนัก ทั้งการเลือกตั้ง กลุ่มผลประโยชน์ และ
พรรคการเมือง
5. ภายใต้รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2492
รัฐธรรมนูญฉ บับน ี้ ได้เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองการปกครองบ างอ ย่างไปใน
ทางส ง่ เสรมิ ก ารพ ฒั นาการเมอื งร ะบอบป ระชาธปิ ไตยท ถี่ อื ห ลกั ก ารว า่ “อ�ำ นาจอ ธปิ ไตยเปน็ ข องป ระชาชน” และ
มีก ารก ำ�หนดสาระสำ�คัญของการเข้าสู่อำ�นาจและก ารใช้อำ�นาจของบุคคลที่มีบ ทบาทและหน้าที่อยู่ในส ถาบัน
ทางการเมืองต่างๆ ที่เป็นไปในทางส่งเสริมอำ�นาจอธิปไตยของปวงชนหลายอย่าง เพราะเป็นรัฐธรรมนูญที่
ยกร่างข ึ้นมาจาก “สภาร ่างร ัฐธรรมนูญ” ที่มีค วามเป็นอิสระพอสมควร และใช้วิธีการเปิดร ับฟ ังความคิดเห็น
ของประชาชนอย่างกว้างขวาง รวมทั้งการค้นคว้าข้อมูลและแนวคิดมาจากรัฐธรรมนูญของนานาประเทศ
จากบทบัญญัติท ี่ม ีมากถ ึง 188 มาตรา จึงท ำ�ให้เห็นเจตนาข องผู้ยกร ่างและเจตนารมณ์ในก ารป ูพ ื้นฐานข อง
ประชาธิปไตยให้ม ากข ึ้นก ว่าเดิม ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญได้จ ัดว างโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครอง
คล้ายคลึงก ับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489 และได้เพิ่มเติมในส ่วนข องส ถาบันพ ระมหากษัตริย์ คือก ำ�หนดให้ม ี
“คณะอ งคมนตรี” มาแ ทน “คณะอ ภิร ัฐมนตรี” ตามร ัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2490 รวมท ั้งพ ระร าชอ ำ�นาจเพิ่มเติม
ในส่วนข องส ภาสูง กล่าวค ือ ทรงแ ต่งตั้งป ระธานอ งคมนตรี 1 คน และองคมนตรีอ ีกไม่เกิน 8 คน ทำ�หน้าที่
ถวายคำ�ปรึกษาแด่พระมหากษัตริย์ โดยผู้ได้รับแต่งตั้งต้องเป็นกลางทางการเมือง จะเป็นข้าราชการประจำ�
รัฐมนตรี และข ้าราชการเมือง อื่นๆ มิได้ และท รงเลือกแ ละแ ต่งต ั้ง “สมาชิกว ุฒิสภาจ ากผ ูม้ สี ิทธิ์สมัครร ับเลือก
ตั้งเป็นส มาชิกส ภาผ ูแ้ ทน และม ีอายไุมต่ ํ่าก ว่า 40 ปีบร บิ ูรณ์ ซึ่งท รงพ ระร าชดำ�รเิห็นว ่า เป็นผ ู้ทรงค ุณวุฒโิดยม ี
ความร คู้ วามช ำ�นาญในว ิชาการห รอื ก จิ การต า่ งๆ อนั จ ะย งั ป ระโยชนใ์หแ้ กก่ ารป กครองแ ผ่นดิน และใหป้ ระธาน
องคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา” (มาตรา 82) พระราชอำ�นาจ
ดังก ล่าวน ี้ ตามเจตนารมณข์ องร ฐั ธรรมนูญก ค็ ือ การเพิ่มอ ำ�นาจด ้านน ิตบิ ัญญตั ใิหก้ ับส ถาบันพ ระม หาก ษัตรยิ ์
ที่มีความเป็นจริง และชัดเจนมากกว่าในอดีต เพื่อจะเป็นการถ่วงดุลอำ�นาจกับสถาบันทางการเมืองอื่น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ สภาผู้แทนราษฎรและคณะรัฐมนตรี ยิ่งไปกว่านั้นการใช้กำ�ลังทหารเพื่อการรบ ทำ�
สงคราม หรือปราบจ ลาจลต ้องข อพระบรมร าชโองการก ่อนจ ึงจ ะสั่งก ารได้
สถาบันนิติบัญญัติ คือ ระบบรัฐสภา ประกอบด้วย วุฒิสภา สมาชิกจำ�นวน 100 คน วาระดำ�รง
ตำ�แหน่ง 6 ปี เมื่อค รบว าระ 3 ปี ใหจ้ ับส ลากอ อกก ึ่งห นึ่ง แตใ่นร ะยะแ รกห ลังป ระกาศใชร้ ัฐธรรมนูญใหส้ มาชิก