Page 55 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 55
ส่วนบ น โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-45
พระม หาก ษัตริย์
รัฐสภา ฝ่ายบริหาร ตุลาการ
• พฤฒส ภา นายกรัฐมนตรี 1 คน ศาลและผู้พิพากษา
• สภาผู้แ ทนร าษฎร รัฐมนตรี 10–18 คน
ส่วนก ลาง ระบบราชการ: ส่วนกลาง
พรรค* พรรค* ส่วนภูมิภาค
การเมือง การเมือง จังหวัด
อำ�เภอ
การเลือกต้งั ตำ�บล ท้องถ ิ่น
หมู่บ้าน
กลุ่มผ ล กลุ่มผ ล
ประโยชน์ ประโยชน์
ส่วนล ่าง ประชาชน
ภาพท ี่ 5.7 โครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองก ารป กครองข องไทยภายใตร้ ฐั ธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489
หมายเหตุ *สถาบันก ารเมืองใหม่ท ี่ร ัฐธรรมนูญฯ บัญญัติให้ป ระชาชนสามารถจ ัดต ั้งข ึ้นได้
อย่างไรก ็ตาม เนื่องจากส ถาบันท างการเมืองใหม่ทุกส ถาบัน รวมทั้งพ รรคการเมืองที่ม ีข ึ้นอ ย่างเป็น
ทางการ หรือโดยการรับรองข องร ัฐธรรมนูญเป็นค รั้งแ รก ยังมีความอ่อนแอ (weaked institutions) ยิ่งถ ้า
นำ�มาเปรียบเทียบกับสถาบันทางการเมืองการปกครองดั้งเดิม คือระบบราชการที่มีความเข้มแข็งอย่างมาก
(strong institutions) โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรทหาร (military organization) เพราะม ีการพัฒนามา
เป็นเวลายาวนานมาก และมีบ ทบาททางการเมืองท ี่ส ำ�คัญมาโดยตลอด โครงสร้าง และสถาบันก ารเมืองการ
ปกครองใหม่ภ ายใต้รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489 จึงล้มเหลวลงเมื่อเกิดก ารร ัฐประหารว ันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.
2490