Page 54 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 54

5-44 การเมืองการปกครองไทย

“พรรคการเมือง” ที่ถ​ ือว่าเ​ป็น “สถาบันท​ างการเ​มือง” ในโ​ครงสร้างท​ างการเ​มืองส​ ่วนก​ ลางท​ ี่เ​ชื่อมโ​ยงส​ ่วนบ​ น
(รัฐสภา รัฐบาล ตุลาการ) กับส​ ่วนล​ ่าง (ประชาชน กลุ่มผ​ ล​ประโยชน์ และ​การเ​ลือกต​ ั้ง) ขึ้น​อีกส​ ่วน​หนึ่ง

       สถาบัน​พระ​มหา​กษัตริย์ พื้น​ฐาน​ยัง​คง​ยึด​หลัก​การ​พระ​ราช​อำ�นาจ​จำ�กัด (Limited Monarchy)
และก​ ็​คงพ​ ระร​ าช​อำ�นาจ​ที่ก​ ำ�หนด​เพิ่ม​เติม​ตามร​ ัฐธรรมนูญ​ฉบับท​ ี่ส​ องไ​ว้ ในฉ​ บับน​ ี้​ได้​เพิ่มเ​ติม​พระ​ราชอ​ ำ�นาจ​
วินิจฉัย ใน​การ​ลงพ​ ระ​ปรมาภิไธยร​ ่าง​กฎหมาย​ต่างๆ อีก​ส่วนห​ นึ่ง

       สถาบันน​ ิติบัญญัติ คือ รัฐสภา ประกอบ​ด้วย 2 สภา ได้แก่ พฤฒส​ ภา หรือ​สภาส​ ูง สมาชิกจ​ ำ�นวน
80 คน มีว​ าระ 6 ปี โดยต​ ้องเ​ป็นผ​ ู้จ​ บก​ ารศ​ ึกษาไ​ม่น​ ้อยก​ ว่าป​ ริญญาต​ รี อายุ 40 ปีข​ ึ้นไ​ป และเ​คยเ​ป็นข​ ้าราชการ​
ในร​ ะดับไ​ม่​ตํ่าก​ ว่า​หัวหน้าก​ องห​ รือเ​ทียบเ​ท่า แต่ต​ ้อง​ไม่​เป็นข​ ้าราชการป​ ระจำ�​มา​จากก​ ารเ​ลือกต​ ั้ง แต่ใ​น​ระยะ​
เริ่ม​แรก​ให้​สมาชิกส​ ภา​ผู้​แทน​ราษฎร ที่ด​ ำ�รงต​ ำ�แหน่งต​ าม​รัฐธรรมนูญฉ​ บับ​ที่​สอง​เป็น​ผู้​เลือก​ตั้ง ส่วน​อำ�นาจ​
หน้าที่ม​ นี​ ้อยก​ ว่าส​ มาชิกส​ ภาผ​ ูแ้​ ทนร​ าษฎร คือ เน้นท​ ีก่​ ารพ​ ิจารณาร​ ่างก​ ฎหมายท​ ี่มาจ​ ากส​ ภาผ​ ูแ้​ ทนร​ าษฎร และ​
ควบคุมก​ ารบ​ ริหารร​ าชการแ​ ผ่นด​ ินข​ องร​ ัฐบาลด​ ้วยก​ ารต​ ั้งก​ ระทูถ้​ ามค​ ณะร​ ัฐมนตรี โดยไ​ม่มอี​ ำ�นาจล​ งม​ ตไิ​มไ่​ว​้
วางใจ ส่วนส​ ภาผ​ ้​แู ทน​ราษฎร สมาชิก 178 คน โดย 96 คน มา​จาก​ประเภทท​ ี่ 1 (เลือก​ตั้ง) ภาย​ใต้​รัฐธรรมนูญ​
ฉบับ​ที่ส​ อง และส​ มาชิกท​ ี่มา​จากก​ าร​เลือกต​ ั้ง​ใหม่ (ในว​ ัน​ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2489) อีก 82 คน มี​อำ�นาจห​ น้าที​่
ในก​ ารต​ ราก​ ฎหมาย และ​การต​ รวจส​ อบ ควบคุมก​ ารบ​ ริหารร​ าชการแ​ ผ่นด​ ินด​ ้วยก​ ารข​ อเ​ปิดอ​ ภิปรายเ​พื่อล​ งม​ ต​ิ
ไมไ่​วว้​ างใจค​ ณะร​ ัฐมนตรที​ ั้งค​ ณะห​ รือร​ ายบ​ ุคคล คุณสมบัตขิ​ องส​ มาชิกส​ ภาผ​ ูแ้​ ทนร​ าษฎรม​ ีอายตุ​ ั้งแต่ 23 ปขี​ ึ้น​
ไป ต้อง​ไม่​เป็นข​ ้าราชการ​ประจำ� และ​มี​ความร​ ู้ต​ ั้งแต่​ชั้นป​ ระถมศ​ ึกษาป​ ี​ที่ 4 ขึ้นไ​ป วาระ​การด​ ำ�รง​ตำ�แหน่ง 4 ปี

       สถาบัน​บริหาร คือ คณะร​ ัฐมนตรี ประกอบ​ด้วย​นายก​รัฐมนตรี 1 คน และร​ ัฐมนตรีจ​ ำ�นวน 10–18
คน ประธาน​พฤฒส​ ภาแ​ ละป​ ระธานส​ ภาผ​ ู้แ​ ทนร​ าษฎรเ​ป็นผ​ ู้ล​ งน​ ามร​ ับส​ นองพ​ ระบรมร​ าชโองการแ​ ต่งต​ ั้งน​ ายก​
รัฐมนตรี คณะร​ ัฐมนตรีต​ ้องไ​มเ่​ป็นข​ ้าราชการป​ ระจำ�​และไ​มส่​ ามารถด​ ำ�รงต​ ำ�แหน่งส​ มาชิกส​ ภาผ​ ูแ้​ ทนร​ าษฎรใ​น​
ขณะเ​ดยี วกนั คณะร​ ฐั มนตรต​ี อ้ งไ​ดร​้ บั ค​ วามไ​วว​้ างใจจ​ ากส​ ภาใ​นก​ ารเ​ขา้ บ​ รหิ ารร​ าชการแ​ ผน่ ดนิ โดยก​ ารก​ �ำ หนด​
นโยบาย​และค​ วบคุมก​ ารนำ�​นโยบายไ​ปป​ ฏิบัติ​ของข​ ้าราชการ​ในก​ ระทรวง ทบวง กรมต​ ่างๆ

       สถาบัน​ตุลาการ ยัง​คง​กำ�หนด​ไว้​คล้ายคลึง​กับ​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​ที่​สอง มี​อำ�นาจ​พิพากษา​อรรถ​คดี​
ต่างๆ ตามก​ ฎหมาย

       การ​เลือก​ตั้ง มี​ความ​สำ�คัญ​มาก​ขึ้น​ตาม​รัฐธรรมนูญ​ฉบับ​นี้ เพราะ​กำ�หนด​ให้​มี​การ​เลือก​ตั้ง​สมาชิก​
รัฐสภา​ทั้ง 2 สภา แต่​กำ�หนดใ​ห้​เลือก​ตั้ง​สมาชิกพ​ ฤฒส​ ภาท​ างอ​ ้อม​ในร​ ะยะเ​ริ่มแ​ รก โดยส​ อด​รับก​ ับบ​ ทบัญญัติ​
ด้านส​ ิทธิ เสรีภาพข​ องป​ ระชาชนท​ ี่ม​ ีข​ อบเขตก​ ว้างข​ วางก​ ว่าเ​ดิม รวมท​ ั้งก​ ารร​ วมต​ ัวก​ ันเ​ป็น “พรรคการเมือง” ที​่
จะก​ ลาย​เป็นการ​เริ่ม​ต้นพ​ ัฒนา​สถาบัน​ทางการ​เมือง​ในส​ ่วนก​ ลาง​ของ​โครงสร้าง​ทางการ​เมือง ถ้า​หาก​มีบ​ ทบาท​
ทางการ​เมือง​อย่าง​ต่อเ​นื่อง​และ​เปิด​โอกาส​กว้าง​ให้​ประชาชน​เกิด​ความ​มั่นใจ​จน​เข้าไป​มี​ส่วน​ร่วม​ทางการ​เมือง​
มาก​ขึ้น

       โครงสร้าง และส​ ถาบัน​ทางการเ​มือง​ทั้ง​ส่วน​ดั้งเดิม​ที่​เริ่มม​ ี​การ​ปรับเ​ปลี่ยนไ​ปบ​ ้าง ส่วนใ​หม่ท​ ี่​เกิด​ขึ้น​
มาต​ ั้งแต่ พ.ศ. 2475 และ​ส่วนท​ ี่เ​กิดข​ ึ้น​ไม่ต​ าม​รัฐธรรมนูญฉ​ บับน​ ี้ จึงอ​ าจ​เขียนอ​ อกม​ าเ​ป็น​แผนภาพไ​ด้​ดังนี้
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59