Page 49 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 49

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-39

โดย​แยก​สุขาภิบาล​ออก​เป็น 2 ระดับ คือ สุขาภิบาลเ​มือง​กับ​สุขาภิบาล​ตำ�บล โดย​สุขาภิบาล​เมือง​จัด​ตั้ง​ใน​
ท้องถ​ ิ่น​ที่​มีค​ วาม​เจริญม​ ากกว่า ผลป​ รากฏว​ ่า มีก​ ารจ​ ัดต​ ั้งส​ ุขาภิบาลใ​นเ​วลา​ต่อม​ า​ถึง 35 แห่ง

       โครงสร้าง​คณะก​ รรมการ​สุขาภิบาลเ​มืองต​ ามก​ ฎหมาย ประกอบ​ด้วย กรรมการ 11 คน มี​ผูว้​ ่าร​ าชการ​
เมืองเป็น​ประธาน ปลัด​เมืองเป็น​เลขานุการ นอกจาก​นั้น ก็​มี​หัวหน้า​พนักงาน​การ​ศึกษา​ใน​เมือง นาย​อำ�เภอ​
ท้องถ​ ิ่น นายแ​ พทย์ส​ ุขาภิบาล นายช​ ่างส​ ุขาภิบาล และก​ ำ�นันท​ ี่​อยู่ใ​นเ​ขต​สุขาภิบาล 5 คน ถ้าม​ ี​กำ�นันไ​ม่ค​ รบ
ก็​ให้​ข้าหลวง​เทศาภิบาล​เลือก​ผู้​เสีย​ภาษี​โรง​ร้าน​เป็น “กำ�นัน​พิเศษ” ขึ้น​เป็น​กรรมการ โดย​ให้​อยู่​ใน​ตำ�แหน่ง
2 ปี แล้ว​จึงเ​ลือกใ​หม่ ส่วน​สุขาภิบาล​ตำ�บล​มีก​ รรมการ 5 คน มีก​ ำ�นันเ​ป็น​ประธาน รอง​กำ�นัน แพทย์ป​ ระจำ�​
ตำ�บล ครู​ประจำ�​ตำ�บล และผ​ ู้ใหญ่บ​ ้าน เป็นก​ รรมการ อำ�นาจห​ น้าที่ข​ องส​ ุขาภิบาล​ทั้ง 2 ระดับเ​หมือน​กัน คือ
รักษาค​ วามส​ ะอาดใ​นท​ ้องท​ ี่ ป้องกันแ​ ละร​ ักษาค​ วามไ​ข้เ​จ็บใ​นท​ ้องท​ ี่ บำ�รุงร​ ักษาท​ างไ​ปม​ า และก​ ารศ​ ึกษาข​ ั้นต​ ้น​
ของ​ราษฎร

สรุปโ​ครงสร้าง และ​สถาบนั ​ทางการ​เมืองก​ ารป​ กครองช​ ่วง พ.ศ. 2435-2453

       โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ใน​ยุค​สร้าง​ความ​เป็น​สมัย​ใหม่​ต่อสู้​กับ​ลัทธิ​
จักรวรรดินิยม​ตะวัน​ตก​ดัง​กล่าว​นี้ เกิด​ขึ้น​จาก​เหตุผล​และ​ปัจจัย​สำ�คัญ 2 ส่วน​ใหญ่​ประกอบ​กัน คือ การ​
คุกคามแ​ ละอ​ ิทธิพลข​ องต​ ะวันต​ ก กับค​ วามต​ ้องการป​ รับเ​ปลี่ยนเ​พื่อด​ ำ�รงค​ วามเ​ป็น “ชาติ” ด้วยก​ ารท​ ำ�ให้เ​ป็น​
สมัยใ​หม่ท​ ัดเทียมก​ ับต​ ะวันต​ กข​ องพ​ ระม​ หาก​ ษัตริย์แ​ ละช​ นชั้นผ​ ู้​ปกครองร​ ะดับส​ ูงข​ องไ​ทย (โปรดด​ ูแ​ ผนภาพ​
ที่ 5.2 ประกอบ)

       อย่างไร​ก็ตาม โครงสร้าง และ​สถาบัน​ทางการ​เมือง​การ​ปกครอง​ที่​เกิด​ขึ้น​ใหม่​ใน​ยุค​นี้ ก็​มี​ความ​
ทันส​ มยั อ​ ยแู่​ ตเ​่ ฉพาะร​ ะบบร​ าชการห​ รอื ส​ ว่ นป​ ระกอบห​ ลักข​ องร​ ะบบก​ ารเมือง โดยร​ วมศ​ ูนยอ​์ ำ�นาจอ​ ยทู่​ ีส่​ ถาบนั ​
พระ​มหา​กษัตริย์​และ​ส่วน​กลาง โดย​มี​ผลก​ระ​ทบ​น้อย​มาก​ต่อ​สภาพ​แวดล้อม​ต่างๆ นอก​ออก​ไป​จาก​ระบบ​
ราชการ ยกเว้น กรณีท​ ี่ส​ ่วนก​ ลางส​ ามารถค​ วบคุม บังคับบ​ ัญชาอ​ อกไ​ปไ​ด้ท​ ั่วร​ าชอ​ าณาจักรแ​ ละม​ ีป​ ระสิทธิภาพ​
และป​ ระสิทธิผลอ​ ย่างม​ ากจ​ นไ​ม่เ​กิด “ชนชั้นน​ ำ�” ในเ​มืองร​ อบน​ อก หรือ​เกิดก​ ลุ่มต​ ่อต​ ้านอ​ ำ�นาจข​ องส​ ่วนก​ ลาง​
และ​พระม​ หา​กษัตริย์ไ​ด้ ดัง​เช่น​ในย​ ุค​ก่อน​หน้าน​ ี้

       กลุ่ม​พลังท​ าง​สังคมก​ ลุ่ม​ใหม่​ที่​สา​มาร​ ถ​ค่อยๆ เติบโต​และเ​ข้ม​แข็งข​ ึ้น​มี​อยู่ 2 กลุ่มใ​หญ่ๆ คือ ชนชั้น​
ข้าราชการ และ​ชนชั้น​นายทุน โดย​กลุ่ม​แรก​เติบโต​ได้​รวดเร็ว​กว่า​กลุ่ม​หลัง ภาย​ใต้​โครงสร้าง และ​สถาบัน​
ทางการ​เมือง​การ​ปกครองส​ มัย​ใหม่ด​ ังก​ ล่าว​นี้
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54