Page 46 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 46
5-36 การเมืองการปกครองไทย
โครงสร้าง และส ถาบนั ทางการเมอื งการปกครองท ่เี ปล่ียนแปลงในส มยั รชั กาลที่ 5
1. สว่ นกลาง: กระทรวง ก ารเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้มีก ารค ิดแ ละว างแผนอย่างเป็นข ั้นตอน ตั้งแต่
การศึกษาและพิจารณาถึงสภาพปัญหาของโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองเดิม การออก
ไปศึกษาและดูงานในต่างประเทศหลายครั้ง และการประชุมปรึกษากันในกลุ่มชนชั้นนำ�ที่มีอำ�นาจตัดสินใจ
ตลอดจ นก ารแ ต่งต ั้งท ี่ป รึกษาช าวต ่างช าตแิ ละร ับฟ ังค วามค ิดเห็นแ ละข ้อเสนอแ นะต ่างๆ จากบ รรดาท ี่ป รึกษา
ดังก ล่าว มาจ นถึงก ารค่อยๆ เปลี่ยนแปลงในห น่วยง านหรืออ งค์กรท ี่ม ีอยู่เดิม เพื่อให้เหมาะสมม ากข ึ้น และ
การจ ัดต ั้งโครงสร้าง และสถาบันก ารเมืองการปกครองใหม่ข ึ้นทำ�หน้าที่เฉพาะด ้านในเวลาต่อม า โดยเฉพาะ
อย่างย ิ่งในช่วง พ.ศ. 2435–2453
โครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งก ารป กครองในส ว่ นก ลาง คอื ในเขตร าชธานี “กรงุ เทพม หาน ครฯ”
ไดจ้ ัดแ ยกอ อกเป็น กระทรวง และห น่วยง านย ่อยๆ ของแ ต่ละก ระทรวง โดยพ ระบาทส มเด็จพ ระจ ุลจอมเกล้า
เจ้าอ ยูห่ ัว ทรงเน้นก ารเลือกผ ูท้ ีจ่ ะเข้าด ำ�รงต ำ�แหน่งส ูงสุดในแ ต่ละก ระทรวง คือ ตำ�แหน่ง “ เสนาบดี” และท รง
ให้ค วามส ำ�คัญก ับบทบาทข องกรมพระยาด ำ�รงร าชาน ุภ าพอ ย่างม าก เพราะท รงแต่งตั้งให้รับต ำ�แหน่งส ำ�คัญ
ทั้งในหน่วยงานการต่างประเทศ กระทรวงธรรมาการ ทรงแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนพระองค์เดินทางไปร่วมงาน
พ ระร าชพ ิธเีฉลิมฉ ลองก ารค รองร าชยส์ มบัตคิ รบ 25 ปี (Diamond Jubilee) ของส มเด็จพ ระนางเจ้าว ิคท อเรีย
แ ห่งอ ังกฤษ รวมท ั้งก ารศ ึกษาแ ละด งู านด ้านโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครองข องอ ังกฤษ และ
งานการศึกษาในย ุโรป อียิปต์ และอ ินเดีย ก่อนที่จะท รงแต่งต ั้งให้เป็นเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยพระองค์
แรก เมื่อว ันท ี่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435
ในว นั ท ี่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 กไ็ ดม้ พี ระบรมร าชโองการเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งก ารเมอื งก ารป กครอง
พร้อมๆ กับให้ยุบเลิกหน่วยง านแ ละต ำ�แหน่งเดิมท ี่ส ำ�คัญ คือ สมุหนายก สมุหก ลาโหม และจตุสดมภ์ โดย
ปรับเปลี่ยนอำ�นาจหน้าที่เดิมให้เป็นอำ�นาจหน้าที่ของหน่วยงานใหม่ที่เป็นหน่วยงานใหญ่ เสนาบดีก ระทรวง
เปรียบเสมือนเป็น “พระหัตถ์ซ ้ายและขวา” ของพ ระม หาก ษัตริย์ และกระท รวงอ ื่นๆ เป็นกร ะท รวงร ะดับรอง
ลงไป คือ กระทรวงว ัง กระทรวงน ครบาล กระทรวงพ ระค ลังม หาส มบัติ กระท รว งเกษตราธกิ าร ไดป้ รับเปลี่ยน
ให้ม ีอ ำ�นาจห น้าที่เฉพาะแ ตกต ่างกัน และมีสถานะที่ใกล้เคียงหรือเสมอภาคก ันม ากข ึ้น
สว่ นท เี่ ปน็ กร ะท รวงท จี่ ดั ต ัง้ ข ึน้ ใหมแ่ ละม อี �ำ นาจห นา้ ทโี่ ดยเฉพาะข องแ ตล่ ะก ระทรวง ไดแ้ ก่ กระทรวง
ยุติธรรม มีอ ำ�นาจหน้าที่ดูแลระบบง านยุติธรรมท ั้งหมดของราชอาณาจักร กระท รวงโยธาธ ิการ รับผ ิดชอบ
เกี่ยวก ับงานสาธารณะท ั่วไป รวมทั้งงานไปรษณีย์ โทรเลข และกิจการด ้านรถไฟ กระทรวงก ารต่างประเทศมี
อำ�นาจห น้าที่เกี่ยวก ับกิจการต ่างป ระเทศเป็นส ำ�คัญ และเป็นง านท ี่เหมาะส มกับยุคสมัย กระทรวงธ รรมาก าร
ดูแลรับผิดชอบงานด้านศาสนา ศีลธรรม พิพิธภัณฑ์สถานกรุงเทพฯ กิจการโรงเรียนและโรงพยาบาล
ทั่วร าชอ าณาจักร
งานเกี่ยวกับการด ูแลร ักษาพระร าชลัญจกร การด ูแลและจ ัดการเกี่ยวก ับพระร าชก ำ�หนดกฎหมาย
ตา่ งๆไดม้ ปี รมิ าณง านเพมิ่ ข นึ้ ม ากในย คุ น ี้จงึ ไดจ้ ดั ต งั้ ข นึ้ เปน็ กร ะท รวงม รุ ธาธ รหรอื ม รุ ธาธ กิ ารและอ กี ห นว่ ยง าน
หนึ่ง คือ กรมยุทธนาธิการ (Military Strategy) ที่ม ีผู้บังคับบัญชาส ูงสุดอยู่ในฐานะเสนาบดี มีอ ำ�นาจหน้าที่
เกี่ยวกับการจัดการในกองทัพบก และทหารเรือ โดยมีผู้บัญชาการทหารบกและผู้บัญชาการทหารเรือเป็น
หัวหน้าง านโดยต ำ�แหน่ง