Page 45 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 45

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-35

ช่วงเ​ริ่มต​ ้น พ.ศ. 2378 รัฐบาลม​ ีร​ าย​ได้​จาก​ภาษีห​ วย​ถึง 20,000 ชั่ง และต​ ่อ​มา​อีก 20 ปี ภาษีไ​ด้เ​พิ่มข​ ึ้นเ​ป็น
200,000 ชั่ง (Siffin, 1966: 40) โดย​ราย​ได้​เหล่า​นี้​บาง​ส่วน​ได้​นำ�​ไป​จ้าง​แรงงาน​ชาว​จีน​ใน​การ​ก่อสร้าง​ถนน
สะพาน และ​งาน​สา​ธารณะ​อื่นๆ ดัง​กล่าวม​ า​แล้ว

            ความ​ต้องการ​ด้าน​การ​เงิน​ของ​ศูนย์กลาง​เพื่อ​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​พัฒนา​และ​ด้าน​การเมือง​การ​
ปกครอง ประกอบ​กับ​มี​ทาง​เลือก​ใหม่​ด้าน​แรงงาน ทำ�ให้​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง​ด้าน​นโยบาย​และ​แนวทาง​
ปฏิบัติ​ติดตาม​มา และ​ส่ง​ผล​ไป​สู่​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​ด้าน​อื่นๆ อีก​หลาย​ด้าน รวม​ทั้ง​ความ​สัมพันธ์​ใน​เชิง​
ผปู​้ กครองก​ บั ผ​ อู​้ ยใู​่ ตป​้ กครองแ​ บบด​ ัง้ เดมิ ร​ ะหวา่ งพ​ ระม​ หาก​ ษตั รยิ ก​์ บั ป​ ระชาชน ทคี​่ อ่ ยๆ ผอ่ นค​ ลายร​ ะบบไ​พร​่
แรงงาน​ไป​สู่​สามัญ​ชน​ที่​มี​อิสระ​มาก​ขึ้น ขณะ​ที่​พระ​มหา​กษัตริย์​ก็​ทรง​คลาย​ความ​เป็น​เทว​ราชา​ไป​สู่​ความ​เป็น
“มนุษย​ราชา” มาก​ขึ้น ฝ่าย​ผู้​ปกครอง​ก็ได้​แสวงหาว​ ิธี​การ​ใหม่ๆ เพื่อ​ทำ�ให้พ​ ระ​คลัง​มี​ราย​ได้​เพิ่ม​ขึ้น เพื่อ​นำ�​
มา​ใช้​จ่าย​ทดแทน​การส​ ูญ​เสียแ​ รงงาน​ไพร่ด​ ังก​ ล่าว

       2. 	 สาเหตจ​ุ ากภ​ ายนอก ได้แก่
            2.1 	อิทธิพล​และ​การ​คุกคาม​จาก​อาณาจักร​ใกล้​เคียง โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​คือ พม่า​ได้​ลด​ลง​

อย่างม​ าก​จน “สยาม” หรือฝ​ ่ายไ​ทย แทบไ​ม่​ต้อง​กังวลก​ ับก​ ารเต​รี​ยม​ป้องกัน​ประเทศ และก​ ารท​ ำ�​สงคราม​ใน​
รปู แ​ บบเ​กา่ เพราะพ​ มา่ ไ​ดต​้ กอ​ ยใู​่ ตก​้ ารป​ กครองข​ องอ​ งั กฤษม​ าต​ ัง้ แตส​่ มยั ร​ ชั กาลท​ ี่ 3 สว่ นด​ า้ นต​ ะวนั อ​ อก หลาย​
อาณาจักรก​ ็​ค่อยๆ มาอ​ ยู่ใ​ต้​การ​ปกครอง​ของฝ​ รั่งเศสใ​น​ลักษณะเ​ดียวกัน

            2.2 	ปจั จยั ส​ �ำ คญั ท​ ค​่ี กุ คามต​ อ่ ส​ ยาม​  หรอื ไ​ทย​ กค็​ ือ “พลังอ​ ำ�นาจข​ องต​ ะวันต​ ก” ทีม่​ พี​ ลังร​ ุนแรง​
และจ​ ริงจังก​ ้าวหน้าเ​หนือก​ ว่าอ​ าณาจักรใ​นแ​ ถบน​ ีท้​ ุกด​ ้าน รวมท​ ั้งพ​ ลังท​ างท​ หาร การค​ ้า การเมือง และพ​ ลังข​ อง​
ความร​ ู้ ตลอดจ​ นค​ วามเ​จริญก​ ้าวหน้าท​ างด​ ้านว​ ิทยาศาสตร์ และเ​ทคโนโลยีต​ ่างๆ ผู้ป​ กครองต​ ั้งแต่ย​ ุคอ​ ยุธยา​
มาจ​ นถึงย​ ุคร​ ัตนโกสินทร์ ได้​ติดต่อม​ ีค​ วามส​ ัมพันธ์ก​ ับต​ ะวันต​ กม​ าอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง (Siffin, 1966: 42-50)* และ​
ค่อยๆ ซึมซับ​และ​ตระหนัก​รู้​ถึง​พลัง​อำ�นาจ​ที่​ทวี​สูง​ขึ้น​ของ​ตะวัน​ตกใน​ยุค​ของ​การ​ยินยอม​ทำ�​สนธิ​สัญญา​ทาง​
พระร​ าชไ​มตรี และก​ ารเ​สียด​ ินแ​ ดนเ​พื่อแ​ ลกเ​ปลี่ยนก​ ับอ​ ธิปไตย และก​ ารอ​ ยูร่​ อดข​ องร​ ัฐท​ ั้งหมดใ​นส​ มัยร​ ัชกาล​
ที่ 3 และร​ ัชกาล​ที่ 4 จน​นำ�​มาส​ ู่ก​ ารเ​ปลี่ยนแปลง​ครั้งใ​หญ่ใ​นห​ ลายๆ ด้าน รวม​ทั้ง​โครงสร้าง และ​สถาบันท​ าง
การเ​มือง​ใน​สมัย​รัชกาลท​ ี่ 5

	 * ยุคอ​ ยุธยา พ.ศ. 2054 Don Affonse d’Albuquerque ผปู้​ กครองโ​ปรตุเกสไ​ดส้​ ่งท​ ูตม​ าเ​ข้าเ​ฝ้าก​ ษัตริ​ยอ์​ ยุธยา ตามม​ าด​ ้วย​
นัก​ผจญ​ภัย​ชาว​โปรตุเกส​เข้า​มา​เป็น​ทหาร​ใน​กองทัพ​อยุธยา ต่อ​มา​พ่อค้า​ชาว​ฮอลแลนด์​และ​อังก​ฤษ​ก็​เข้า​มาส​ร้าง​สัมพันธ์​กับ​ผู้​ปกครอง​
อยุธยาใ​นช​ ่วงท​ ีอ่​ ยุธยาต​ ้องการถ​ ่วงด​ ุลอำ�นาจก​ ับห​ ลายช​ าตติ​ ะวันต​ ก พ.ศ. 2152 คณะ​ทูตช​ ุดแ​ รกจ​ ากอ​ ยุธยาไ​ปถ​ ึงก​ รุง Hague และ​ต่อม​ า​
ก็ส​ ่งท​ ูต​ไป​ฝรั่งเศส พ.ศ. 2227 และ พ.ศ. 2228 คอนส​ ​แตน​ติน ฟอน​คอน นัก​ผจญภ​ ัยย​ ุโรปเ​ข้าม​ าอ​ ยุธยาใ​น​ช่วงท​ ศวรรษ 2223 และไ​ด้​
กลายเ​ป็นข​ ุนนางท​ ีท่​ รงอ​ ำ�นาจค​ นห​ นึ่งใ​นร​ ัชกาลส​ มเด็จพ​ ระน​ าร​ ายณ​ ์ แตต่​ ่อม​ าก​ ถ็​ ูกส​ ังหารโ​ดยพ​ ระเ​ทพร​ าชา หลังจ​ ากน​ ั้นค​ วามส​ ัมพันธ์ก​ ับ​
ยโุ รปก​ ม​็ ร​ี ะดบั ล​ ดล​ ง ขณะท​ เี​่ กดิ ส​ งครามก​ บั พ​ มา่ ห​ ลายค​ รัง้ และข​ ยายก​ ารค​ า้ ก​ บั จ​ นี จนก​ ระทัง่ ส​ มยั ร​ ตั นโกสนิ ทรต​์ อนต​ น้ สยามไ​ดเ​้ ผชญิ ก​ บั ​
อิทธิพลท​ ีส่​ ำ�คัญแ​ ละแ​ ตกต​ ่างจ​ ากเ​ดิมข​ องต​ ะวันต​ ก ภายใ​ต้ “ลัทธจิ​ ักรวรรดินิยม” (Imperialism) จนเ​กิดก​ ารต​ กลงท​ ำ�​สนธสิ​ ัญญาเ​บอรน์​ ี่
พ.ศ. 2369 และ​ครั้ง​สำ�คัญ คือ สนธิ​สัญญา​เบา​ว์​ริง พ.ศ. 2395 ที่​มี​ผล​ใน​การ​เกิด​ตลา​ดการ​ค้า​ภายใน​รัฐ และ​ยุติ​การ​ผูกขาด​ของ​
พระ​คลัง​สินค้า โดย​ใน​ช่วง​เดียวกัน​นี้ พวก​มิช​ชัน​นารี​ก็ได้​นำ�​ความ​รู้ วิทยาการ และ​เทคโนโลยี​ใหม่​เข้า​มา​จน​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง​ใน​
หลายๆ ด้าน และ​ขยายว​ งก​ ว้าง​ใน​เวลา​ต่อ​มา
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50