Page 48 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 48
5-38 การเมืองการปกครองไทย
“การจ ดั การป กครอง” ใหมด่ งั ก ลา่ วน ี้ กค็ อื คณะก รรมการม ณฑล ทมี่ ขี า้ หลวงเทศาภบิ าลเปน็ ห วั หนา้
รับผ ิดช อบในง านร าชการต ่างๆ ภายในม ณฑล ทำ�หน้าที่ส ำ�คัญค ือ ส่งเสริมค วามส งบเรียบร้อยแ ละก ารพ ัฒนา
ชาตบิ ้านเมือง ด้วยก ารค วบคุมบ ังคับบ ัญชาเจ้าห น้าทีใ่นร ะดับจ ังหวัด (เมือง) จนถึงร ะดับท ้องถ ิ่นต ่างๆ และใช้
วิธีก ารจ ่ายเงินเดือนให้ก ับข ้าราชการแ ละเจ้าห น้าที่ร ะดับต ่างๆ เพราะช นชั้นผ ู้ป กครองร ะดับส ูง เห็นว ่าม ีค วาม
จำ�เป็นที่จะต้องส ร้างร ะบบก ารท ำ�งานแ บบใหม่ และช่วยเหลือก ารด ำ�รงช ีวิตของข ้าราชการ
“โครงสรา้ งก ารเมืองก ารป กครองร ะดบั ท ลี่ ดห ลัน่ ล งไป” เปน็ อ กี ล กั ษณะส �ำ คญั ห นึง่ ข องร ะบบม ณฑล
คือก ารผ สมผ สานโครงสร้างร ะดับอ ำ�เภอเข้าก ับก ารส ร้างร ะบบก ารป กครองห มู่บ้านอ ย่างเป็นท างการ ระบบน ี้
จัดร ะดับผู้ม ีอ ำ�นาจหน้าที่ลดห ลั่นกัน คือ ในร ะดับเมือง ก็ม ีผ ู้ว่าราชการเมือง และค ณะก รมก ารเมือง ระดับ
อำ�เภอ คือ นายอำ�เภอ ตำ�บลที่ประกอบด้วยหมู่บ้านหลายแห่ง ปกครองโดยกำ�นัน ส่วนระดับพื้นฐาน คือ
หมู่บ้าน ประกอบขึ้นจากหลายครัวเรือน ผู้นำ� คือ ผู้ใหญ่บ้าน แม้ว่าโดยลักษณะโครงสร้างยังคงยึดอยู่กับ
ลักษณะดั้งเดิม แต่การเปลี่ยนแปลงสำ�คัญ คือการกำ�หนดค่าตอบแทนเป็นเงินเดือน และให้ผู้คนในแต่ละ
หมู่บ้านทำ�การเลือกผู้นำ�หมู่บ้านแทนการแต่งตั้งโดยผู้ปกครองเมือง* และให้ผู้ใหญ่บ้านในแต่ละตำ�บล
ร่วมกันเลือกกำ�นันจากผู้ใหญ่บ้านคนใดคนหนึ่ง วัตถุประสงค์สำ�คัญของกระทรวงมหาดไทยในการ
เปลี่ยนแปลงด ังก ล่าวน ี้ ก็ค ือ การท ำ�ให้ท ุกร ะด ับบ ูรณาก ารเข้าส ู่ร ะบบก ารป กครองภ ูมิภาคแ ละส ่วนก ลาง เพื่อ
ทำ�ให้การปกครองเกิดประสิทธิภาพและป ระสิทธิผลในด ้านต ่างๆ รวมท ั้งการร ักษาความส งบเรียบร้อย และ
การจัดเก็บภ าษีและร ายได้เข้าสู่ส่วนกลางได้มากขึ้น
3. สว่ นทอ้ งถ นิ่ : สขุ าภบิ าล
พ.ศ. 2448 ไดม้ กี ารจ ดั ต ัง้ “สขุ าภบิ าล” แหง่ แ รกท ที่ า่ ฉ ลอม เปน็ ล กั ษณะก ารร ว่ มม อื ก นั ท �ำ งานร ะหวา่ ง
ประชาชนในท ้องถ ิ่นก ับข ้าราชการในพ ื้นที่ โดยก ำ�หนดให้ก ำ�นันต ำ�บลท ่าฉ ลอม คือ หลวงพ ัฒนาการภ ักดี เป็น
ผู้นำ�ของคณะกรรมการส ุขาภิบาลแห่งแรกนี้ (กระมล ทองธ รรมชาติและคณะ 2521: 31)** และป รากฏว ่า
สุขาภิบาลท ่าฉ ลอม สามารถทำ�ให้ป ระชาชนร่วมม ือร ่วมใจเสียภ าษเีพื่อใหส้ ุขาภิบาลน ำ�ไปใชจ้ ่ายในก ิจการข อง
สุขาภิบาล เช่น การจัดการค วามส ะอาดบ ริเวณต ลาดสด เป็นต้น จนสมุหเทศาภิบาลในห ลายม ณฑลเกิดค วาม
สนใจ และเรียกร ้องให้ร ัฐบาลต ราก ฎหมายเพื่อให้ม ีก ารจ ัดต ั้งส ุขาภิบาลข ึ้นท ั่วร าชอ าณาจักร พระบาทส มเด็จ
พระจ ลุ จอมเกลา้ เจ้าอ ยูห่ วั และก รมพ ระยาด �ำ รงร าชาน ภุ าพ เสนาบดกี ระทรวงม หาดไทย ทรงม แี นวคิดว า่ ควร
จะต ้องให้ป ระชาชนเห็นป ระโยชนแ์ ละเต็มใจเสียภ าษีแ ก่ส ุขาภิบาลเสียก ่อน จึงจ ะเกิดป ระโยชน์แ ท้จริงในก าร
จดั ต ัง้ ส ขุ าภบิ าล คอื “เกดิ จ ากค วามน ยิ มข องร าษฎรก อ่ น คอื ใหร้ าษฎรน �ำ และร ฐั บาลต ามห ลงั ” (เทศาภบิ าล ปที ี่ 1
เล่ม 2 (ตุลาคม–มีนาคม ร.ศ. 125): 20 อ้างถ ึงใน กระมล ทองธ รรมชาติ และค ณะ 2521: 32) เหตุน ี้ จึงทรง
แนะนำ�ให้มีก าร “ทดลอง” จัดตั้งส ุขาภิบาลไปพลางๆ ก่อน จนก ระทั่ง พ.ศ. 2452 จึงได้มีการออกประกาศใช้
กฎหมาย “พระร าชบ ัญญัติก ารจ ัดการส ุขาภิบาล ร.ศ. 127” เพื่อให้ม ีก ารจ ัดต ั้งส ุขาภิบาลข ึ้นอ ย่างเป็นท างการ
* การเปิดโอกาสให้ป ระชาชนได้เลือกผ ู้นำ�ในร ะดับท ้องถ ิ่น ดำ�เนินก ารแ บบค ่อยเป็นค ่อยไปในแ ต่ละม ณฑล ครั้งแ รกส ุดเกิด
ในหมู่บ้านแห่งหนึ่งของม ณฑลอยุธยา
** กรรมก าร อื่นๆ ประกอบด้วย ขุนพ ิจารณ์น รกิจ ขุนพ ินิจนรการ จีนฟัก จีนศ ุข จีนเต่า จีนอู๊ด และจีนโป๊ะ (ผู้ใหญ่บ ้าน)