Page 47 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 47

โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-37

       เสนาบดีข​ องท​ ุก​กระทรวง รวม​ทั้งเ​สนาบดี​กรมย​ ุทธ​นาธิ​การ มี​ตำ�แหน่งเ​ป็นส​ มาชิก 12 สมาชิกข​ อง​
สภา​เสนาบดี (Council of Ministers) หรือท​ ี่เ​รียกว​ ่า “ลูกขุน ณ ศาลา” เพื่อใ​ห้เ​ป็นห​ น่วยง​ านใ​หม่ แทนที่ส​ ภา
6 รัฐมนตรี แบบ​เดิม โดยภ​ ายใ​ต้โ​ครงสร้าง และ​สถาบันท​ างการเ​มืองก​ าร​ปกครองใ​หม่​ดัง​กล่าว ทุก​กระทรวง​
มี​สถานะ​เท่า​เทียม​กัน เพราะ​ไม่มี​อัคร​มหา​เสนาบดี​เหมือน​ใน​อดีต และ​อำ�นาจ​หน้าที่​ของ​ทุก​กระทรวง​ก็​อยู่​
ภายใ​ต้ข​ อบเขตข​ องก​ ฎหมาย ผู้ด​ ำ�รงต​ ำ�แหน่งต​ ่างๆ ทุกร​ ะดับไ​ด้ร​ ับเ​งินเ​ดือนป​ ระจำ� ไม่ใช่ต​ ำ�แหน่ง “กินเ​มือง”
หรือเ​ก็บภ​ าษี และห​ าร​ ายไ​ด้​เองของ​ผู้​มีต​ ำ�แหน่งเ​หมือนใ​น​อดีต

       2. 	 ส่วนภ​ มู ิภาค: ระบบเ​ทศาภบิ าล จังหวัด อ�ำ เภอ ตำ�บล หมูบ่ า้ น
       ระบบ​เทศาภิบาล คือ ระบบ​จัด​แบ่ง​เขต​การ​ปกครอง​ท้อง​ถิ่น หรือ​ใน​ส่วน​ภูมิภาค โดย​ส่วน​กลาง​
ต้องการ​ให้​เชื่อม​โยง​เข้า​กับ​ส่วน​กลางจน​สามารถ​ทำ�การ​ควบคุมบังคับ​บัญชา​ได้​ทั่ว​ถึง และ​เป็นการ​ยกเลิก​
อำ�นาจ​ของ​เจ้า​เมือง​ใน “ระบบ​กิน​เมือง” แบบ​ดั้งเดิม ที่​ผู้​ปกครอง​เมือง​ทั้ง​หลาย​มี​อิสระ​และ​สามารถ​ท้าทาย​
อำ�นาจ​ของ​ส่วน​กลาง​ได้ นอกจาก​นั้น​ยัง​เป็นการ​เปลี่ยนแปลง​ให้​เกิด​ความ​ทัน​สมัย (Modernization) ของ​
ระบบ​การเมือง​การ​ปกครอง ใน​ด้าน​กลับ​กัน​ระบบ​เทศาภิบาล​จึง​สะท้อน​ถึง​การ​รวม​อำ�นาจ​มา​สู่​ส่วน​กลาง
(centralized of power) อีกด​ ้วย
       “มณฑล” คือ​ส่วน​ประกอบ​สำ�คัญ​ของ​ระบบ​เทศาภิบาล โดย​เริ่ม​ดึง​เอา​อำ�นาจ​หน้าที่​ของ​ผู้​ปกครอง​
เมือง​มา​อยู่​กับ “คณะ​กรรมการ​มณฑล” ที่​มี​การ​คัด​เลือก​กรรมการ​อย่าง​ระมัดระวัง และ​จัด​ระบบ​เกี่ยว​กับ​
หน้าที่​และค​ วามร​ ับผ​ ิด​ชอบ​ไว้โ​ดยเ​ฉพาะ
       เดือนม​ กราคม พ.ศ. 2437 กรมพ​ ระยาด​ ำ�รงร​ าชาน​ ภุ​ าพไ​ดจ้​ ัดการป​ ระชุมป​ ระจำ�​ปหี​ ัวหน้าห​ รือข​ ้าหลวง​
มณฑล​เทศาภิบาล​ขึ้น​ครั้ง​แรก มี “ข้าหลวง” เข้า​ร่วม 5 คน เป็นการ​ประชุม​เพื่อ​ทำ�​แผน​และ​ฝึก​อบรม​ที่​มี​
รายล​ ะเอียดม​ าก ตลอดเ​วลา 1 สัปดาห์ พระบาทส​ มเด็จพ​ ระจ​ ุลจอมเกล้าเ​จ้าอ​ ยู่ห​ ัวไ​ด้ม​ ีพ​ ระร​ าชห​ ัตถเลขา และ​
กรม​พระยา​ดำ�รง​ราชา​นุ​ภาพ​ได้​นำ�​มา​อ่าน​ใน​ที่​ประชุม เนื้อหา​สาระ​สำ�คัญ​ก็​คือ การ​ต้อง​ปรับ​ตัว​ใน 2–3 ด้าน
แตจ​่ �ำ เปน็ ต​ อ้ งป​ รบั เ​ปลีย่ นด​ า้ นก​ ารป​ กครองภ​ ายในใ​หด​้ ม​ี ค​ี วามเ​ปน็ ส​ มยั ใ​หมเ​่ สยี ก​ อ่ น เพราะอ​ ทิ ธพิ ลข​ องอ​ งั กฤษ​
และฝ​ รั่งเศส สองช​ าตมิ​ หาอำ�นาจมแี​ นวโ​น้มเ​ป็นอ​ ันตรายค​ ุกคามอ​ ย่างย​ ิ่ง ดังข​ ้อความบ​ างต​ อน คือ (จักร​ กฤษณ์
นรน​ ิติ​ผดุง​การ 2506: 58-59)

          “... บัดนี้ฝ​ ่ายต​ ะวันต​ กโ​อบข​ ึ้นไ​ปเ​หนือ เมืองเ​หล่าน​ ี้ต​ กเ​ป็นข​ องอ​ ังกฤษ ข้างฝ​ ่ายต​ ะวันอ​ อกโ​อบข​ ึ้นไ​ป​
  เหนือ ตกเ​ป็น​ของ​ฝรั่งเศส เมืองเ​รา​ตั้งอ​ ยู่​ท่ามกลาง​ประเทศ​ที่​มีก​ าร​ปกครอง​อย่างก​ วดขันแ​ ละ​มี​กำ�ลังม​ ากกว่า​
  เจ้าของเ​ดิม​โดย​รอบ... การซ​ ึ่ง​จะ​รักษาม​ ิใ​ห้​อันตราย​ทั้งภ​ ายในแ​ ละ​ภายนอกไ​ด้​มี​อยู่ 3 ประการ คือ พูดจาก​ ัน​
  ในท​ างไ​มตรี​อย่าง​หนึ่ง มีก​ ำ�ลังพ​ อที่จ​ ะ​รักษาค​ วาม​สงบ​เรียบร้อย​ของบ​ ้านเ​มืองอ​ ย่างห​ นึ่ง การป​ กครองใ​ห้เ​สมอ​
  กันอ​ ย่างห​ นึ่ง... ถ้า​ไม่จ​ ัดการ​ปกครอง​ให้เ​รียบร้อย ทุน​ซึ่งจ​ ะเ​ป็นท​ ี่ต​ ั้งใ​ห้ม​ ีก​ ำ�ลังพ​ อร​ ักษาค​ วามส​ งบเ​รียบร้อย​ได​้
  นั้นก​ จ็​ ะไ​มพ่​ บ การซ​ ึ่งจ​ ะไ​ดก้​ ำ�ลังบ​ ริบูรณไ์​ดต้​ ้องอ​ าศัยค​ วามป​ กครองใ​หร้​ าษฎรไ​ดท้​ ำ�​มาห​ ากินส​ ะดวก... ซึ่งจ​ ะไ​ด​้
  มา​เสีย​ภาษีอ​ ากร จึง​จะ​เป็น​กำ�ลัง​บ้าน​เมือง​ได้”
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52