Page 51 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 51
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-41
เรือ่ งท ี่ 5.2.3 โครงสรา้ ง และสถาบันการเมืองก ารปกครองข องไทย
ระหวา่ ง พ.ศ. 2475-2516
1. ภายใต้รัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2475
กลุ่มบุคคลซึ่งมีสถานะเป็น “ข้าราชการ” หรือขุนนางเกือบทั้งหมด ที่มีชื่อเรียกว่า “คณะราษฎร”
หรือ People’s Party ได้ด ำ�เนินก ารเปลี่ยนแปลงก ารเมืองก ารปกครองในช่วงร ะหว่างว ันท ี่ 24–27 มิถุนายน
พ.ศ. 2475 และได้รับการสนองตอบจาก “กลุ่มอำ�นาจเดิม” โดยการนำ�ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
เจ้าอ ยู่ห ัวด้วยก าร “รอมชอม” หรือแ นวทางการป ระนีประนอมก ันของทั้งส องฝ ่าย จนน ำ�มาส ู่การป ระกาศใช้
รัฐธรรมนูญท ี่ถ ือว่าเป็นก ฎหมายส ูงสุดฉ บับแ รกท ี่ค ณะร าษฎรจ ัดท ำ�ขึ้น ในว ันท ี่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และ
ทำ�ให้เกิด “องค์กรน ิติบัญญัติ” ครั้งแรกในว ันต่อม า
ภายใต้ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักรสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” หรือ
รัฐธรรมนูญฉบับแรก โครงสร้างทางการเมืองการปกครองอย่างเป็นทางการตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย
สูงสุด ได้เปลี่ยนแปลงไปอ ย่างม าก คือ รัฐธรรมนูญกำ�หนดให้ “อำ�นาจสูงสุดในก ารป กครองประเทศเป็นข อง
ราษฎร” โดยม ี 4 สถาบันเป็นผู้ใช้อ ำ�นาจแทน คือ กษัตริย์ สภาผ ู้แ ทนราษฎร คณะกรรมการร าษฎร และศาล
“การเลือกตั้ง” ที่เป็นการใช้อำ�นาจเลือกต ัวแทนของประชาชนให้มีข ึ้นในช่วง 6 เดือนแรก หรือ “จนกว่าจ ะ
จัดป ระเทศเป็นป กติเรียบร้อย” ส่วนร ะบบร าชการท ี่เคยเป็นโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองก ารป กครอง
ขนาดใหญ่เป็นศ ูนย์กลางอำ�นาจภ ายใตพ้ ระร าชอ ำ�นาจข องพ ระม หาก ษัตริย์ ไม่ไดก้ ำ�หนดไวเ้ป็นการเฉพาะแ ต่
ในท างป ฏิบัติก ็ยังคงเป็นโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองก ารป กครองข นาดใหญ่ และสำ�คัญต่อก ารเมือง
การปกครองของไทยในยุคน ี้ และในยุคต่อๆ มา เหตุน ี้ ในความเป็นจริงจึงเกิดอ งค์ประกอบของโครงสร้าง
และสถาบันทางการเมืองท ั้งข องเก่าและใหม่ผ สมผสานก ัน
รัฐธรรมนูญก ำ�หนดให้ “กษัตริย์” ทรงดำ�รงฐานะประมุขสูงสุดของประเทศ เป็นท ี่เคารพสักการะ
ผู้ใดจะละเมิด กล่าวหาหรือฟ้องร้องมิได้ พระราชบัญญัติ คำ�วินิจฉัยของศาลและอื่นๆ ต้องกระทำ�ใน
พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ โดยมีกรรมการราษฎรคนใดคนหนึ่งลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
การสืบร าชส มบัติให้เป็นไปต ามก ฎม ณเฑียรบาล พ.ศ. 2467 เหตุนี้ สถาบันพ ระม หาก ษัตริย์จ ึงไม่มีอำ�นาจใน
ทางการเมืองการปกครองโดยตรงเหมือนในอ ดีต อำ�นาจส ำ�คัญจ ึงจ ัดแยกไปอ ยู่ก ับสถาบันส ำ�คัญ 3 สถาบัน
คือ อำ�นาจน ิติบัญญัติและค วบคุมตรวจส อบฝ ่ายบริหาร อยู่ที่ “สภาผู้แทนร าษฎร” ที่คณะร าษฎรแ ต่งตั้งข ึ้น
70 คน ในระยะแ รก อำ�นาจบริหารอ ยู่ก ับ “คณะกรรมการราษฎร” (คณะรัฐมนตรี) และอำ�นาจต ุลาการอ ยู่
ที่ศ าล ที่ยังไม่มีการเปลี่ยนแ ปล งใดๆ ในร ะยะแรก (โปรดด ูแ ผนภาพท ี่ 5.3 ประกอบ) ทั้งนี้ อำ�นาจข องส ภา
ค่อนข ้างส ำ�คัญแ ละก ว้างข วาง เพราะเป็นอ ำ�นาจค ัดเลือกผ ู้นำ�ฝ่ายบ ริหาร และก ำ�หนดน โยบายแ ละต รวจส อบ
การท ำ�งานของฝ่ายบ ริหาร