Page 52 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 52
5-42 การเมืองการปกครองไทย
พระม หาก ษัตริย์
ส่วนบ น
สภา คัดเลือก คณะก รรมการ ศาล
ผู้แทนราษฎร ตรวจสอบ ราษฎร ท้องถิ่น
“แต่งตั้ง” (1+14 คน)
คณะร าษฎร ระบบราชการ:
โดย ส่วนก ลาง
คณะผ ู้รักษา ส่วนภูมิภาค
พระนคร จังหวัด
ฝ่ายทหาร อำ�เภอ
ตำ�บล
ส่วนก ลาง หมู่บ้าน
เลือกต ั้ง
(ในช ่วง 6 เดือนห ลัง
ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ)
ส่วนพ ื้นฐ าน
ประชาชน
ภาพท ่ี 5.6 โครงสร้าง และส ถาบนั ทางการเมืองการป กครองข องไ ทยภายใต้ร ัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2475
ผสมผสานร ะหวา่ งเกา่ กบั ใหม่
หมายเหตุ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำ�ข้าราชการบางส่วนที่กลายเป็น “คณะราษฎร” และการได้เป็นสมาชิกสภา
ผ ู้แ ทนร าษฎร
2. ภายใต้ร ัฐธรรมนูญฯ ว นั ท ่ี 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
โครงสร้าง และส ถาบันทางการเมืองการปกครองของไทย ยังค งค ล้ายคลึงก ับร ัฐธรรมนูญฉบับแ รก
เพราะยังไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับสถาบันทางการเมืองอื่น แต่ได้มีการบัญญัติชื่อของฝ่ายบริหารใหม่เป็น
“คณะรัฐมนตรี” แทน “คณะกรรมการราษฎร” กำ�หนดจำ�นวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เพิ่มจำ�นวน