Page 53 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 53
โครงสร้าง และสถาบันการเมืองการปกครองของไทย 5-43
“รัฐมนตรี” และสัดส่วนที่มาของรัฐมนตรี ตลอดจนอำ�นาจหน้าที่ของแต่ละสถาบันและการกำ�หนดการ
ถ ่วงดุลและต รวจส อบอ ำ�นาจระหว่างกัน
สถาบนั พ ระม หาก ษตั รยิ ย์ งั ค งถ กู จ �ำ กดั อ �ำ นาจ (limited monarchy) เหมอื นก บั ร ฐั ธรรมนญู ฉ บบั แ รก
แต่ได้เพิ่มพ ระร าชอำ�นาจในการย ุบส ภาผ ู้แ ทนราษฎรข ึ้นมา โดยท รงก ระทำ�ตามค ำ�แนะนำ�ของค ณะรัฐมนตรี
ซึ่งในทางป ฏิบัติก็ค ือ อำ�นาจข องฝ่ายบริหารเพื่อก ารถ่วงด ุลหรือแก้ไขปัญหากรณีฝ่ายบ ริหารข ัดแ ย้งกับฝ ่าย
นิติบัญญัติ พระร าชอำ�นาจในก ารแต่งตั้งค ณะรัฐมนตรี และการแต่งตั้งสมาชิกสภาผ ู้แทนร าษฎร (ส่วนท ี่มา
จากก ารแ ต่งต ั้ง) แต่ก็ไม่ได้เป็นอำ�นาจท ี่อ ิสระแ ท้จริงในท างปฏิบัติ
สภาผู้แทนราษฎร ยังคงมีอำ�นาจหน้าที่สำ�คัญ ทั้งด้านนิติบัญญัติ การควบคุมการบริหารราชการ
แผ่นดินของคณะรัฐมนตรี รวมทั้งการให้ความไว้วางใจและไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลและทั้งคณะ
โดยเป็นส ภาเดียว สมาชิกมี 2 ประเภท มาจากก ารเลือกตั้งของประชาชนและก ารแต่งต ั้งข องพระมหากษัตริย์
จำ�นวนเท่ากัน
ส่วนคณะร ัฐมนตรี กำ�หนดให้มีนายกรัฐมนตรี 1 คน และร ัฐมนตรี 14–24 คน โดยร ัฐมนตรีไม่น้อย
กว่า 14 คน ต้องเลือกมาจากส มาชิกสภาผู้แ ทนราษฎร อีก 10 คน พระม หาก ษัตริย์ทรงแต่งต ั้ง คณะรัฐมนตรี
มีอำ�นาจในก ารบ ริหารร าชการแผ่นดิน
ในข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น หลังจากเกิดโครงสร้าง และสถาบันทางการเมืองการปกครองภายใต้
รัฐธรรมนูญฉบับนี้แล้ว รัฐบาลที่คณะราษฎรแต่งตั้ง โดยมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกรัฐมนตรี
ได้ออกพระราชกฤษฎีกาปิดสภาผู้แทนราษฎร และงดใช้รัฐธรรมนูญบางมาตราในวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.
2476 จากสาเหตุความขัดแย้งกันทางการเมืองหลายเรื่อง รวมทั้งความคิดเห็นที่แตกต่างกันในการปฏิรูป
ระบบเศรษฐกิจ จาก “เค้าโครงเศรษฐกิจ” ที่นายปรีดี พนมยงค์ ผู้นำ�คณะราษฎรสายพลเรือนได้นำ�เสนอ
พระยาพ หลพ ลพ ยหุ เสนา ผูน้ ำ�คณะร าษฎรส ายท หารบ กจ งึ ร ว่ มม อื ก บั พ.ท.หลวงพ บิ ลู ส งคราม และ น.ท.หลวง
ศุภช ลาศัย ทำ�การ “รัฐประหาร” ยึดอ ำ�นาจร ัฐบาลเสมือนก ับเป็นการ “พิทักษร์ ัฐธรรมนูญ” ไว้ จนร ัฐธรรมนูญ
ฉบับน ี้สามารถบังคับใช้ต ่อม าอีกห ลายป ี โดยม ีก ารแ ก้ไข 3 ครั้ง คือ แก้ไขเปลี่ยนช ื่อป ระเทศ ขยายร ะยะเวลา
การด ำ�รงต ำ�แหน่งของส มาชิกส ภาผ ู้แ ทนร าษฎรจ าก 10 ปี เป็น 20 ปี แล้วให้ม ีส มาชิกจ ากการเลือกตั้งป ระเภท
เดียว และข ยายเวลาก ารด ำ�รงต ำ�แหน่งส มาชิกส ภาผู้แ ทนราษฎรจากการเลือกตั้งออกไปค ราวล ะไม่เกิน 2 ปี
3. ภายใต้รัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ. 2489
รัฐธรรมนูญฉ บับนี้ เกิดขึ้นจ ากก ารผ ลักดันของ นายปรีดี พนมยงค์ ขณะที่ด ำ�รงตำ�แหน่งเป็นหนึ่ง
ในคณะผู้สำ�เร็จราชการแทนพระองค์ กับนายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น แม้ว่าต้องการจะ
ยกเลิกบทเฉพาะกาลข องร ัฐธรรมนูญฉ บับที่ส อง และป รับปรุงแก้ไขเพื่อให้เหมาะส มก ับส ถานการณ์ รวมทั้ง
การพ ัฒนาการป กครองร ะบอบประชาธิปไตย แต่ก ็ท ำ�ให้ม ีก ารเปลี่ยนแปลงไปในหลายด ้าน
ในด ้านโครงสร้าง และส ถาบันท างการเมืองการปกครอง ในก รอบใหญ่ๆ ยังป ระกอบด ้วย สถาบัน
พระมหาก ษัตริย์ สถาบันน ิติบัญญัติ สถาบันบ ริหาร สถาบันต ุลาการ ระบบร าชการ และก ารเลือกตั้ง แต่ใน
สาระสำ�คัญและในรายละเอียดได้มีการเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากเดิมหลายอย่าง ตลอดจนกำ�หนดให้มี