Page 42 - การเมืองการปกครองไทย หน่วยที่ 5
P. 42
5-32 การเมืองการปกครองไทย
และร ับใช้ “มูลนาย” ส่วนทาสมีส ถานะเป็น “ทรัพย์สิน” ของนายท าส ไพร่บางก ลุ่มย ังสามารถจ่ายเงิน หรือ
หาของป่าให้ก ับมูลนาย เพื่อแ ลกกับการไม่ต้องเข้าเวรรับใช้ ที่รู้จักก ันในช ื่อว ่า “ไพร่ส่วย”
3. โครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งยคุ รัตนโกสนิ ทรต์ อนต น้ : ผลติ ซํ้ารูปแบบอ ยธุ ยา
อาจก ล่าวได้ว ่า หลังจ ากก ารเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และส ถาบันก ารเมืองก ารป กครองค รั้งส ำ�คัญใน
สมัยส มเด็จพ ระบรมไตรโลกน าถแล้ว อาณาจักรอยุธยาย ุคต่อม าจนถึงก าลล่มส ลาย เมื่อ พ.ศ. 2310 จนถึง
ในย ุคก รุงธนบุรี และร ัตนโกสินทรต์ อนต ้น ยังค งย ึดถือต ามห ลักก ารแ ละแ บบแผนเดิมต ามท ี่ส มเด็จพ ระบรม
ไตรโลกนาถได้ทรงเปลี่ยนแปลงไว้ (กระมล ทองธรรมชาติ และค ณะ 2521: 20-21; อ ัจฉราพร กมุทพิสมัย
2552: 289-348) การเปลี่ยนแปลงจ ึงเป็นส ่วนย ่อยๆ ที่ไม่มีผ ลกระท บต ่อโครงสร้างใหญ่แต่อ ย่างใด กล่าวคือ
ในสมัยรัชกาลท ี่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธย อดฟ ้าจ ุฬาโลก มีก ารเปลี่ยนแปลงให้สมุหก ลาโหมได้ป กครอง
หัวเมืองฝ่ายใต้ตามเดิม สมุหนายกได้ควบคุม ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือ และพระคลังสินค้าควบคุมดูแล
หัวเมืองช ายทะเลตะวันอ อก
ความจำ�เป็นในการสร้างบ้านแปงเมืองครั้งใหม่ และความท้าทายในการตั้งราชวงศ์ใหม่ หลังจาก
สังคมได้เผชิญกับวิกฤตการณ์สำ�คัญ 2 ครั้ง ในรอบ 25 ปี คือ การล่มสลายของอยุธยา พ.ศ. 2310 และ
วิกฤตการณ์กรุงธนบุรี พ.ศ. 2325 ทำ�ให้เกิดผลต่อการเมืองการปกครองยุครัตนโกสินทร์ช่วงเริ่มแรกใน 2
ด้านใหญ่ๆ คือ
หนึ่ง ยึดแ บบแผนโครงสร้าง และส ถาบันทางการเมืองท ี่ใช้ม าต ่อเนื่องก ว่า 300 ปี เพราะย ังม ีความ
เหมาะส มก บั ก ารเมอื งก ารป กครองข องอ าณาจกั รท สี่ รา้ งข ึน้ ใหม่ และส ภาพแ วดลอ้ มต า่ งๆ โดยท ัว่ ไป ทัง้ ส ภาวะ
ทางส งั คม เศรษฐกิจ และก ารเมอื ง ภายในอ าณาจกั รแ ละภ ายนอกอ าณาจกั ร กย็ งั ไม่มเี ปลี่ยนแปลงแ ตกต ่างไป
จากเดิมม ากน ัก ภัยค ุกค ามใหม่ๆ ยังไมป่ รากฏ ความจ ำ�เป็นห ลักๆ กค็ ือ การท ำ�ใหก้ ารเปลี่ยนแปลงผ ูป้ กครอง
อาณาจักรได้ หรือได้ร ับก ารย อมรับและปฏิบัติต ามจ ากท ั้งกลุ่มข ุนนางแ ละผ ู้อ ยู่ใต้ป กครอง
สอง การสร้างสถาบันพระมหากษัตริย์และราชวงศ์ใหม่ให้เป็นศูนย์กลางของการปกครองใน
ร าชอ าณาจักร พร้อมๆ กับก ารส ร้างก ลไกก ารป กครองใหม่ ให้ส ามารถท ำ�งานได้จ นส ่งผ ลให้เกิดป ระสิทธิภาพ
ในการปกครองเหมือนกับในยุคอยุธยา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การเปิดทางให้สามัญชนถวายตัวเข้าเป็น
ขุนนาง หลังจ ากทรงยกเลิกเกณฑ์เรื่องค ุณสมบัติขุนนางเดิมท ี่ระบุให้เป็นผ ู้สืบเชื้อส ายจากอ ัครม หาเสนาบดี
ขุนนางในย ุคน ี้จ ึงเริ่มม ีบ ทบาทแ ละอ ิทธิพลท างการเมืองม ากข ึ้นต ามล ำ�ดับ ที่ป รากฏช ัดเจนค ือ บทบาทในก าร
ประชุมต ัดสินใจให้ค วามเห็นช อบให้พ ระร าชวงศ์บ างพ ระองค์ได้ค รองร าชย์ส มบัติเป็นร ัชกาลท ี่ 3 และร ัชกาล
ที่ 4 ในเวลาต ่อม า
เหตนุ ี้ โครงสรา้ ง และส ถาบนั ท างการเมอื งในย คุ น จี้ งึ เปน็ เสมอื นก ารผ ลติ ซ ํา้ หรอื ก ารล อกเอาแ บบแผน
ของส มัยอ ยุธยาม าใช้ กล่าวค ือ รองล งม าจ ากพ ระม หาก ษัตริย์ “ศูนย์กลางอ ำ�นาจ” ในร าชอ าณาจักรแ ล้ว กเ็ป็น
อัครมหาเสนาบดี 2 ฝ่าย คือ สมุหนายก กับส มุหกลาโหม โดยฝ่ายแรกควบคุมดูแลฝ ่ายพลเรือน และฝ ่าย
หลังบังคับบัญชาฝ ่ายทหาร รองล งม าก ็ค ือ จตุสดมภ์ 4 กรม เวียง วัง คลัง และน า โดยฝ ่ายคลังต ้องควบคุม
ดูแลทั้งการคลังและการบริหารหัวเมืองชายทะเลตะวันออก โดยทั้งหมดนี้ถือว่าเป็นโครงสร้าง และสถาบัน